ประโปลฺ - พระอธิการปัททิยะ กาเปล ภาค ๙ - หน้า 91 พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 93
หน้าที่ 93 / 304

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหาได้กล่าวถึงความสำคัญของการไม่ดูหมิ่นลาภที่ตนมีและไม่เที่ยวปรารถนาลาภของผู้อื่น โดยเนื้อหาชี้ให้เห็นว่าความสำเร็จและลาภที่แท้จริงจะเกิดขึ้นจากการทำดีของตนเองเท่านั้น นอกจากนี้ยังมีการยกตัวอย่างพระคาถาที่นำความเจริญมาสู่ผู้ที่ไม่หมิ่นลาภของตนและขยันหมั่นเพียรในการทำคุณความดี โดยเทพพาหีย่อมสรรเสริญผู้ที่มีคุณธรรมและกิริยาที่ดี

หัวข้อประเด็น

-การไม่เห็นแก่ตัว
-การไม่ดูหมิ่นลาภของตนเอง
-คุณค่าของการทำดี
-การมองเห็นคุณค่าตนเอง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโปลฺ - พระอธิการปัททิยะ กาเปล ภาค ๙ - หน้า 91 แล้วว่าสว่า “กิษฺฐ์ทั้งหลาย ธรรมวาคาภิญญู พึ่งเป็นผู้อื่นดีด้วยอาก ของตนเท่านั้น การปรากฎนาของผู้อื่น ไม่สมควร เพราะบรรลฺ ณา วิปัสสนา มรรค และผลทั้งหลาย แม้ธรรมสักอย่างหนึ่งย่อม ไม่เกิดขึ้นแก่ผู้อื่นปรากฏนาของผู้อื่น แต่คุณชาตทั้งหลายมีนาม เป็นต้น ย่อมเกิดขึ้นแก่ผู้อื่นดีด้วยอากของตนเท่านั้น” ดังนี้แล้ว เมื่อจะทรงแสดงธรรม ได้ทรงภาติพระคาถานี้ว่า:- “กิษฺฐ์ไม่ควรดูหมิ่นลาภของตน, ไม่ควรเที่ยว ปรารถนาลาภของผู้อื่น, กิษฺฐ์เมื่อปรารถนาลาภ ของผู้อื่น ย่อมไม่ประสบสม๎ pi; ถ้ากิษฺฐ์ แม้เป็นผู้มีลาภน้อย ก็ไม่ดูมั่นลาภาของตน, เทพพาห้าทั้งหลาย ย่อมสรรเสริญกิษฺฐ์นั่นแหละ (ว่า) ผู้มืออาชีพหมดจด ไม่เกียจคร้าน.” [แก้อรรถ] บรรดาภาพเหล่านั้น นา ว่า สตฺตา ได้แก่ ลาภที่เกิดขึ้นแก่คน, จริงอยู่ กิษฺฐ์ผู้นั้นการย่อมไปมาลำคับตรก เลี้ยงชีพของผู้ว้าร แสวงหาอันไม่สมควร ชื่อว่า ดูหมิ่น คือ ดูแลน ได้แก่ รังเกียจ ลาภของตน; เพราะเหตุนี้น่ะ กิษฺฐ์ไม่ควรดูหมิ่นลาภของตน ด้วยการ ไม่ทำอย่างนั้น. สองบทว่า อนุเญสะ ปีโย คำว่า ไม่ควรเที่ยวปรารถน ลาภของคนเหล่าอื่น.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More