พระอธิษฐานทัศนวิถีภูเขา - หน้าที่ ๙๖ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 98
หน้าที่ 98 / 304

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาบนหน้าที่ ๙๖ ของพระอธิษฐานทัศนวิถีภูเขา ได้กล่าวถึงการแบ่งครึ่งบริโภคของภิกษุและการไม่ยึดติดในนามรูปเพื่อเข้าถึงธรรมะ เรียกร้องให้เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันอย่างสะอาดและมีความสุข ดำเนินไปในแนวทางที่เข้าใจธรรมชาติเสรีของการมีชีวิตเป็นมนุษย์ โดยพระศากาได้ชี้ทางให้เห็นถึงความยกย่องในศรัทธาและการไม่ติดยึดในชื่อเสียงหรือสรรเสริญจากผู้อื่น

หัวข้อประเด็น

-ภิกษุในพระพุทธศาสนา
-บทบาทของศรัทธา
-การแบ่งปันและการบริโภค
-เข้าใจธรรม
-ความหมายของนามและรูป

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระอธิษฐานทัศนวิถีภูเขาแปลภาค ๙ - หน้าที่ ๙๖ แบ่งครึ่งบริโภคแล้วก็ถือ เป็นของสมควรแก่เรากรทั้งนั้น แม้อนัต ที่เป็นแดน เป็นของสมควรแก่เราเหมือนกัน, พรามนต์ เพราะพวกเรา เป็นผู้ช่วยอาณาจักรที่ผู้อื่นให้ส่งชิพ เป็นเช่นกับพวกปราช์ แล้ว ศรัทธารคานี้ว่า:- "ภิกษุผู้ถ่ออาหารที่บุคคลอื่นให้เลี้ยงชีพ ได้ก่อน ภัทรอันใดจากส่วนที่เลิศกินตาม จากส่วนปานกลาง ก็ตาม จากส่วนที่เหลือกินตาม ภิกษุผู้นั้นเป็นผู้ไม่ ควรเพื่อนำก่อนอัตตรนั้น, และไม่เป็นผู้เดียวแล้ว ขบฉันก่อนอัตรนั้น, ธีรชนทั้งหลายย่อมสรรเสริญ แม้ซึ่งภิกษุนั้นว่า เป็นมนุษย์." พารามณ์ พอได้พระศากนั่น ก็เป็นผู้จิตเลื่อมใส แล้วก็ว่า "โอ้! น่าอัศจรรย์จริง, พระราชบุตรผู้ถืออาเจ้าแห่งคงประทับมิได้ ศรัทธา 'เราไมมีความต้องการด้วยอัตรนั้นเป็นแดนของท่าน' ยังคง อย่างนั้น" แล้วยืนอยู่ที่ประตูตนเอง ทูลถามปัญหาถามพระศากว่า "อ่านแต่พระโดมผู้เจริญ พระองค์สรรเสริญพวกสาวกของพระองค์ว่า ภิกษุ" ด้วยเหตุเพียงเท่าไร ? บุคคลชื่อว่า เป็นภิกษุ." [คนผูไม่กำหนดไม่ติดในนามรูปชื่อว่า ภิกษุ] พระศากา ทรงใคร่ครวญว่า "ธรรมเท่านั้นเช่นไรหนอ? จึง จะเป็นเครื่องสบายแค่พามนู่นนี้" ทรงดำริว่า "ชนทั้ง ๒ ใน กาลของพระพุทธเจ้าทรงพระนามว่ากัสสป ได้พิจารณาของภิกษุหลาย ผู้กล่าวอว่า 'นามรูป, การที่เราไม่ละนามรูปแหละ แล้วแสดง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More