ความสำรวและการบรรลุธรรม พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 73
หน้าที่ 73 / 304

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงการไม่ประพฤติในโอวาทและผลของการสำรวจทางอารมณ์ที่นำไปสู่การสิ้นไปแห่งชีวิต โดยเฉพาะการสำรวจทางตา, ทุ่ง, อากู๋, ลิ้น และใจ ซึ่งช่วยในการพ้นจากทุกข์ เมื่อพระราชาได้ทรงแสดงธรรม จึงทำให้เข้าใจถึงความสำคัญของการสำรวจในทุกทวารเพื่อประโยชน์ในชีวิต. สามารถติดตามเนื้อหาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-ความสำรวจในชีวิต
-การหลุดพ้นจากทุกข์
-การสอนธรรมะของพระราชา
-คุณค่าของการตั้งสติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโคม - พระปิ่นปักธงเขียนบทเปล่า ภาค ๙ - หน้า 71 ในระหว่างทาง ไม่ประพฤติในโอวาทของบันฑิต และอยู่ ถูก รายาสทั้งหมดหลายเดียกวิน ถึงความสิ้นไปแห่งชีวิต ส่วนพระราชา ผู้ทรงสำรวในอารมณ์เหล่านั้น ไม่อื้ออึงถึงนางอักษณ์นี้ ผู้นั้นเพศ ดูเทพพา แต่มิตตาม ไปข้างหลัง ๆ เสด็จถึงเมืองตักศิลาด้วย สวัสดิภาพ แล้วถึงความเป็นพระราชา คือเราแล้ว" แล้วตรัสว่า "ธรรมะภิญญู ควรสำรวาทรามแม้ทั้งมด, เพราะว่า ภิกษุสำรวง ทารเหล่านั้นนันเอง ย่อมพันจากทุกข์ทั้งปวงได้" ดังนี้แล้ว เมื่อ จะทรงแสดงธรรม ได้ทรงภายใต้พระองค์เหล่านั้น:- "ความสำรวทางตา เป็นคุณยังประโยชน์ให้ สำเร็จ, ความสำรวทางทุ่ง เป็นคุณยังประ- โยชน์ให้สำเร็จ ความสำรวทางอากู๋ เป็น คุณยังประโยชน์ให้สำเร็จ, ความสำรวทางลิ่น เป็นคุณยังประโยชน์ให้สำเร็จ, ความ สำรวทางใจ เป็นคุณยังประโยชน์ให้สำเร็จ, โยชน์ให้สำเร็จ, ความสำรวในทวารทั้งปวง เป็นคุณยังประโยชน์ให้สำเร็จ, ภิกษุผู้สำรว แล้วในทวารทั้งปวง ย่อมพันจากทุกข์ทั้งปวง ได้."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More