ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโคม - พระธรรมปิฎกชฎางค์ แปล ภาค ๙ - หน้าที่ 59
โพชฌงค์ธรรม ๑๓ ประการ และกล่าวคือโลกุตตรธรรม ๔ ประการ
นี้เหละ ประเสริฐว่าพึ่งปวง เพราะเหตุนี้ พระศาสดาจึงตรัส
ว่า "สุพุทธ ธมมโร ชินาโต"
องค์ แม้ว่าความยินดีในบุญ ความยินดีในฉัน ความยินดีใน
ทรัพย์ ความยินดีในสติ และความยินดีมีประกามิใช่อย่างเดียว
อันต่างด้วยความยินดีในการฟื้นการขับการประโคมเป็นต้น ย่อมเป็น
ปัจจัยแห่งการยังสัตว์ไปในสังสารวัฏแล้วสายทกโดยแท้;
ส่วนความอิ่มใจ ซึ่งเกิดขึ้น ณ ภายในของผู้แสดงดีดี ผู้กล่าวดี ผู้อกว่
สอนดีดี ซึ่งธรรม ย่อมให้เกิดความเบิกบานใจ ให้ดำดาไหล ให้
เกิดบนุชุน ความอิ่มใจนั้น ย่อมทำที่สุดแห่งสังสารวัฏมีพระ
อรหันต์เป็นปรีชาสถาน, ความยินดีในบุญ เห็นนามนี้แหละ ประเสริฐ
กว่าความยินดีทั้งปวง. เพราะเหตุนี้ พระศาสดา จึงตรัสว่า
"สุพุทฺธ ธมมฺมิ ชินาโต"
ส่วนความสิ้นไปแห่งตันหา คือ พระอรหัตซึ่งเกิดขึ้นในที่สุด
แห่งความสิ้นไปแห่งตันหา พระอรหันต์ ประเสริฐกว่าทุกอย่าง
แท้ เพราะครองบำรุงทุกข์แม้ทั้งสิ้น. เพราะฉะนั้น พระศาสดา
จึงตรัสว่า "ตนุกทุกโขย โลภทุกกูชิ ชินาโต"
เมื่อพระศาสดา ตรัสเนื่องความแห่งพระอาคเนย์ ด้วยประการ
จะนี้ย่อมเบน ธรรมกิฐิย ได้แก่อสัจ ๔ พันแล้ว
แม้ทวาสกะ ทรงสตร์บธรรมะถาของพระศาสดา จงอาบังคม
พระศาสดาแล้ว ทูล่ว่า "พระเจ้าข้า เพื่อประโยชน์อะไร พระองค์