ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโโยค - พระธรรมปาฐิโมกข์แปล ภาค ๙ หน้า ที่ ๕๗
ธรรม ย่อมชนะรสทั้งปวง ความยินดีในธรรม
ย่อมชนะความยินดีทั้งปวง ความสิ้นไปแห่งทุกข์
[แก้กรรม]
บรรดาบทเหล่านั้น กล่าวว่าสุทพทาน เป็นต้น ความว่า ก็ถ้า
บุคคลพึงวายไตรจิรัสเช่นกับบุคคลองอ่อน แด่พระพุทธเจ้าพระปัจเจกพระพุทธเจ้าและพระอีณาสพทั้งหลาย ผู้บังสิต ๆ กัน ในอ้องจักราว
ตลอดถึงพรหมโลก การอนุโมทนาเทียว ที่พระพุทธเจ้าเป็นต้น
ทรงทำด้วยพระคาถา ๕ บาทในสมาคมนั้นประเสริฐ; ก็ท่านนั้น มี
ค่าเต็มเสี้ยวที่ ๑๖ แห่งพระคาถานั้นไม่; การแสดงกิริยา กรกล่าวสอสอน
กิณี การสับสนดี ซึ่งธรรม เป็นของใหญ่ ด้วยประกอบระนี่. อึ่ง
บุคคลใด ให้ทำการฟังธรรม, อนุสงส์เป็นอนุภักดิ์อ่อนก็มีบุคคล
นั่นแหละ ธรรมทานนันแหละ ที่พระพุทธเจ้าเป็นต้นให้ชมไปแล้ว แม้
ด้วยอำนาจอนุโมทนา โดยที่สุดด้วยพระคาถา ๕ บาท ประเสริฐที่สุด
กว่าท่านที่ทายบรรจุญาณให้เต็มด้วยนิทธานุอันประณีตแล้วถวายแก่
บริษัทั้นนี้แหละนั่นแหละว่าเก่าสงท่านทายบรรจุญาณให้
เติมด้วยเนลไลและนํ้ามันเป็นต้นแล้วถวายบ้าง กว่ากาสนานาทนที่
ทายกให้สร้างวิหารเช่นกับมหาวิหาร และปราสาทเช่นกับโลกปราสาท
ตั้งหลายแสนแล้วถวายบ้าง กว่าการบริจาคที่อนาถบุตรเศรษฐี
------------------------------------------------------------------
1. โดยพิษบชนะแปลว่า เช่นกับด้วยใบดองในครรภ์แห่งกล้วย.
2. นิรนุตร กตวา ทำให้มีระว่างไม่มี.