พระพุทธัชฌาแปล ภาค ๔ - หน้าที่ 209 พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 211
หน้าที่ 211 / 304

สรุปเนื้อหา

บทนี้กล่าวถึงการวางอาญาในสัตว์และการบรรลุธรรม โดยเฉพาะการอภัยในความเข้าใจของพรหมณ์ พร้อมคำอธิบายถึงคุณสมบัติของผู้ที่ไม่ตกอยู่ในกิเลสและการบรรลุอรหัตผล ทั้งหลายมีโสดาปัตผลเป็นต้น ผู้ที่มีปฏิุทะและสามารถแสดงอภัย สามารถเข้าถึงความสุขโดยไม่ติดอยู่ในความหลง. ความเข้าใจเช่นนี้ทำให้เห็นคุณค่าของการทำจิตใจให้สงบและมีสติ.

หัวข้อประเด็น

-การวางอาญา
-การบรรลุธรรม
-คุณสมบัติของพรหมณ์
-การทำใจให้สงบ
-คำสอนในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระพุทธัชฌาแปล ภาค ๔ - หน้าที่ 209 แม่ผู้ประทานอภัย ดังนี้แล้ว ครัสพระคาถานี้ว่า :- "ผู้ใดวางอาญาในสัตว์ทั้งหลาย ผู้สะดุ้งเงา ผู้มันคง ไม่เมาเอง ไม่ใช่ผู้มันเอง เราเรียก ผู้มัน ว่า เป็นพรหมณ์." [แก้ธรรม] บรรดาบทเหล่านั้น กล่าวว่า นิสรยา ได้แก่ วางแล้ว คือ ปลง ลงแล้ว. สองบทว่า ตสส ถวายสุข จ กล่าวว่า ผู้ถือว่าสัง เพราะ ความสะดุ้งด้วยสามารถแห่งตันหา และผู้ถือว่า มั่นคง เพราะความ เป็นผู้มันคง โดยความไม่มีแห่งตันหา. สองบทว่า โย & ทานุ คือด้าน กล่าวว่า ผู้ใด ชื่อว่ามี อาชญาณอวางแล้ว เพราะความเป็นผู้มีปฏิุทะไปปราศแล้วในสัตว์ ทั้งปวงอย่างนี้ ย่อมไม่เมาเอง ไม่ใช่ผู้มันว่าอะไร สิ่งสัตว์อะไร ๆ, เรา เรีบยผู้นั้น ว่า เป็นพรหมณ์. ในลาภตามเทศนา ชนเป็นอันมาก บรรลุอรหัตผลทั้งหลาย มี โสดาปัตผลเป็นต้น ดังนี้แล. เรื่องภิทธูธในรูปหนึ่ง จบ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More