ข้อความต้นฉบับในหน้า
คัมภีร์ปฏิรูปมนุษย์
ต้องการให้เพื่อนประสบปัญหา จึงกล้าแสดงความรับผิดชอบด้วยการ
ปกป้องและคุ้มครองเพื่อน
เสมือนหนึ่งความทุกข์ของเพื่อนก็คือความ
ทุกข์ของตนเอง บุคคลที่คุ้มครองป้องกันเพื่อนหรือรับผิดชอบต่อเพื่อนได้
เช่นนี้ ย่อมจะมีจิตใจกล้าหาญพอที่จะกระทำการป้องกันสังคมประเทศชาติ
และศาสนาให้พ้นภัยพิบัติได้
๒. พฤติกรรมของมิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ๔ ประการ
๑) กล้าขยายความลับของตนให้แก่เพื่อน ให้เพื่อนนำข้อมูล
นั้นไปเป็นประโยชน์
๒) กล้าปิดความลับของเพื่อนไม่ให้แพร่งพราย เพื่อป้องกัน
ภยันตรายอันอาจเกิดขึ้นกับเพื่อน
กันไปถึงที่สุด
๓) เมื่อเพื่อนประสบปัญหาเดือดร้อนก็ไม่ละทิ้ง กล้าหอบหิ้ว
๔) แม้ชีวิตก็อาจสละแทนได้
จะเห็นว่าพฤติกรรมทั้ง ๔ อย่างดังกล่าวแล้วนี้ เป็นการแสดง
๔
ความกล้ารับผิดชอบต่อเพื่อนอย่างแท้จริง
๓. พฤติกรรมของมิตรแนะประโยชน์ ๔ ประการ
๑) กล้าห้ามเพื่อนให้เว้นจากความชั่ว เช่น การทำผิดศีล ๕ ห้าม
ทำอกุศลกรรมบถ ๑ เป็นต้น
๑
0
๒) กล้าแนะนำให้เพื่อนตั้งอยู่ในความดี เช่น ให้ยึดพระรัตนตรัย
อกุศลกรรมบถ มี ๑๐ ประการ ประกอบด้วย
๑) กายกรรม ๓ คือ กรรมกิเลส ๓ ข้อแรก ๒) วจีกรรม ๔ คือ พูดเท็จ พูดส่อเสียด
พูดหยาบ พูดเพ้อเจ้อ ๓) มโนกรรม ๓ ได้แก่ อภิชฌา(โลภ) พยาบาท และ มิจฉาทิฏฐิ
๓