ข้อความต้นฉบับในหน้า
มีความมุ่งหมายเพียงจะแผ่ความที่ยังลี้ลับโดยอรรถหรือโดย พญัญชนะ ให้ปรากฏชัดเท่านั้น หาไม่มุ่งหมายจะอธิบายขนามาสิ ทุกข้อทุกกระทงไม่ เพราะฉะนั้น สภาพของอรรถกถา จึงมีทาง ดำเนินเป็น ๒ แพร่ง คือ อธิบายขอบพระอุชฌชนะอย่าง ๑ อธิบายความ อย่าง ๑. และทั้ง ๒ อย่างนี้ ก็หาได้จัดสรรไว้เป็นหมวดเป็นหมู่ไม่, ท่านทำลูกละกันไปตามลำดับแห่งบทบทที่ท่านถึงเข้า. ที่อธิบายไว้ เป็นเรื่องสั้น ๆ ก็มี เป็นเรื่องยาวก็มี ล้วนเป็นเรื่องที่เกี่ยวกลุ่ม ความรู้ความเข้าใจของผู้ใครศึกษาทุกอย่าง, ไม่เฉพาะแต่ในทาง ศาสนา, ยังเป็นเครื่องส่อให้เห็นความเป็นไปของคนในสมัย ๒,000 ปี ล่วงแล้วอีกด้วยว่า "ชนในครั้งนั้น มีความประพฤติอย่างไร? มีความนิยมอย่างไร? มีนีรติประเพณีสืบเนื่องมาถึงชนในครั้งนั้นอย่างไร ?" ข้อเหล่านี้เป็นเครื่องเทียบความเจริญความเสื่อมของหมู่ชน ซึ่งเทียว เนื่องกับศาสนา โง่อีกด้านปัจจุบันให้ดูกัน. เพราะฉะนั้น ปรณ์ อรรถกถา จึงไม่ด้าว่า "แก่เกินสมัย" สำหรับคนยุคปัจจุบัน จักว่าเป็นเรื่องน่าอ่านน่ารู้ใจอย่างยิ่งทีเดียว. อีกประการนึง แบะแผนต่าง ๆ ทั้งทางธรรมและทางวินัยที่ใช้ อยู่ในสมัยนี้ โดยมากท่านผู้รินลา ได้ถือเอานิตตามเค้ารวกถามาม รวบรวมปรุงขึ้นเป็นเรื่อง โดยชื่อถือกันว่า ปรณ์อรรถกถาเป็น ปรณ์ที่มีพื้นฐานควรเชื่อมากเป็นที่น่ารับใจ ว่า "ท่านพระอรรถกาเรยเป็นผู้รพระพุทธาธิบายของพระสัมมา- สัมพุทธเจ้า." แม้คำบริบาลสุดดาวิถีว่าจิงสังคะ, ซึ่งได้เคยใช่ เป็นหลักสูตรสำหรับบัลปลิประโยค ๕ แห่งสมหลวง, ท่านผู้รินนาได้ เก็บรวบรวมเนื้อความในคัมภีร์มัมปลาก้เอางไปกล่าวเกีอื่องน่ามใจ สำหรับผู้ใครศึกษา ไม่แจ่มรบรรลุสุดคตลอดเลยก็เดี๋ยว และบัดนี้ คัมรติ สมนตปาสาทิกากาดา ที่ ได้ประกาศใช้เป็นหลักสูตรสำหรับบัลือ