การรับสรณะตามพระวินัยมหาวรรค ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 1 หน้า 45
หน้าที่ 45 / 233

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงวิธีการรับสรณะตามพระวินัยมหาวรรค ซึ่งระบุถึงความสำคัญของการทำตามคำสั่งของอาจารย์และการรักษาความบริสุทธิ์ของผู้บรรพชา โดยมีข้อกำหนดที่ชัดเจนในการกล่าวคำสรณะและความเหมาะสมในแต่ละกรณี นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงอุปสัมปทาและความสำคัญของการปฏิบัติในหลักธรรมของพระพุทธเจ้าและความระมัดระวังในการวางบทบาทของอาจารย์และสามเณร เพื่อให้บุคคลที่เกี่ยวข้องสามารถปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของสรณะ
-ข้อกำหนดในการรับสรณะ
-บทบาทของอาจารย์และสามเณร
-การปฏิบัติตามคำสั่ง
-ความบริสุทธิ์ในพระวินัย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ติดสมัญตำปาสทิจก อรรถถาคพระวินัยมหาวรรค ตอน ๑ หน้า 38 คือพึงสั่งว่า ยมน์ วาทามิ ต วาทิ เพื่อรับสรณะ. ลำดับนั้น อุปชามายี่หรืออาจารย์พึงให้สรณะแก่ข้า โดยนิยมเป็นต้นว่า พุทธิ สราณ คุวามิ ดังนี้ พึงให้ตามคำที่กล่าวแล้วอย่างไรก็ดี ไม่ พึงให้สบำดิตบ. ถ้าสับลำดับเสีย บทหนึ่งก็ยัง อักษรหนึ่งก็ยัง, หรือให้ พุทธิส สรณึ เท่านั้น ถ้วน ๑ ครั้งแล้ว ภายหลังจึง ให้สรณะนอกนี้อย่างละ ๑ ครั้ง, สรณะไม่จำกัดให้. ก็แลอง- สัมปทาที่พระผู้มีพระภาคทรงห้ามสรณะคุมบูมในบทแล้ว ทรง อนุญาตไว้ บริสุทธิ์ฝ่ายเดียวก็ควร. ส่วนสามเณรบรรพชารูปสุทธิ์ ทั้ง ๒ ฝ่ายก็ควร. บริสุทธิ์ฝ่ายเดียวไม่ควร; เพราะเหตุอัน ใน อุปสัมปทา ถ้าอาจารย์ทำกรรมเว้นุณุตติโทษ และกรรมวางโทษ แล้ว ก็กรรมเป็นอันถูกต้อง. ส่วนในบรรพชา ทั้งอาจารย์ อันตวาสัก ต้องว่าตรง ๑ เหล่า่ ไม่ให้เสียความพร้อมมูลแห่ง ฐานกรณีของพุทธชนะทั้งหลาย มี่ พุ อักษรและ ๕ อักษรเป็นต้น. ถ้าอาจารย์อาจได้ แต่อนันต์วาสิกไม่อาจ, หรืออนันต์วาสิกอาจ แต่ถาอาจป์อาจ. หรือทั้ง ๒ ฝ่ายไม่อาจ, ไม่ควร. แต่อันทั้ง สองฝ่ายอาจาข้อบังคับ ก็แล้วแต่ให้สรณะนาทีนั้น พึงให้วาบ ที่มินิคิสดเป็นที่สุด ให้ติดเนื่องเป็นอันเดียวกันอย่างนี้ว่า พุทธ์ สรณ คุวามิ หรือพึงให้ว่านบทมี่ ม อักษรเป็นที่สุด ให้ขาด ระยะกันอย่างนี้ว่า พุทธม สรณม คุวามิ ในอันถ тогдаกฎา [๒๕] ท่านว่า "อนุตวาสิกพึงประกาศชื่อรับสรณะอย่างนี้ว่า "๑" เป็นสำเนียงว่าอย่างสันสกฤต บัดนี้เราไม่ใช้แล้ว.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More