พระวินัยแห่งพระองค์ท่าน มหาวร ตอนที่ ๑ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 1 หน้า 93
หน้าที่ 93 / 233

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เน้นเรื่องการกระทำและปฏิบัติทางพระพุทธศาสนา โดยกล่าวถึงความสำคัญของการทำงานร่วมกันและบทบาทของพระและสามเณรในการปฏิบัติตามพระวินัย มีการยกตัวอย่างความหมายของคำในบาลีและการอธิบายเกี่ยวกับความถูกใจและความชอบใจของครูผู้สอน ซึ่งเป็นสาระสำคัญในการเข้าใจหลักธรรมและการเรียนรู้ในชุมชนทางศาสนา ต้องให้ความสำคัญต่อการร่วมมือกันและการเคารพในแนวทางที่ถูกต้องในวิถีพระพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-การปฏิบัติตามพระวินัย
-บทบาทของพระและสามเณร
-ความหมายของคำในบาลี
-ความสำคัญของการทำงานร่วมกัน
-การเคารพในแนวทางของครูผู้สอน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - คำสั้นๆ ที่สำคัญ พระวินัยแห่งพระองค์ท่าน มหาวร ตอน. ๑ หน้าที่ 86 "ลงมือกันเถอะ ขอบคุณ ลงมือเถอะ พ่อหนุ่ม ลงมือเถอะ สามเณร ถ้า พวกท่านจักไม่ทำ หรือพวกผมจักไม่ทำ ที่นี่ใครเล่าจักทำการนี้." เมื่อพวกภิาคูพูดกันว่า "พวกเราจักทำการ" เขาย่อมอ้างโง่บาง อย่าง, เมื่อพวกภิาคูก็กำลังทำการณ์อยู่จึงท่านไปใกล้ ๆ โผล่แต่เดี๋ยระ ให้เห็น แม่ผู้มีก็ว่ า เป็นผู้มีก็ญิห์ทั้งหลายให้นิด. ข้อว่า น ติพพูญอนโก มีความว่า ไม่เป็นผู้มีก็ความพอใจ รุนแรง. บทว่า อุทเทส ได้แก่ ในการเรียนบาลี. บทว่า ปริปฉาย ได้แก่ ในการอธิบายคำ [แห่งบาลี]. บทว่า อสิสึด ได้แก่ ศีล คือปฏิโมกข์. บทว่า อธิฏฐิต ได้แก่ ในการอบรมโลภิคสมิ. บทว่า อธิฏฐปญฺญาย ได้แก่ ในการเจริญโลคุตรมรรคร. สองบทว่า สงฺกุตฺโต โหติ มีความว่า เป็นผู้มาขอสาวา นี้แล้ว. สองบทว่า ตสฺส ตสฺโญ ได้แก่ ครุผู้อื่นเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ดำทำข้ามนั้น. สองบทว่า ตสฺสิ ทฏฺฐิยา ได้แก่ ลักษณ์ซึ่งเป็นของครูนั้น. บัดนี้ลักษณะนั้นเอง ท่านกล่าวว่า "ความถูกใจ ความชอบใจ ความ ถือ ของครูผู้เจ้าของลิขสิทธิ์นั้น" เพราะเหตุว่า เป็นที่ถูกใจ เป็นที่ ชอบใจ ของติดกระนั้น และอันติดกระนั้น ก็ออย่างมันว่า “นี้เท่านั้นเป็นจริง” เพราะเหตุนี้น พระผู้พระภาคจึงตรัสว่า [๓๗] แห่ง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More