ประโฒค - คติสมุนไพรสู่กา อรรถาธิษฐานพระวินัยมหาวรรค ตอน ๑ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 1 หน้า 218
หน้าที่ 218 / 233

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในหน้าที่ 211 นี้ ได้กล่าวถึงหลักการและแนวทางของพระวินัยในหมวดต่างๆ เช่น ปฐมสิกขาอุโบสถ และสามัคคีอุโบสถ ซึ่งมีความสำคัญต่อการปฏิบัติของพระภิกษุที่ต้องเข้าใจและจำให้คล่องแคล่ว นอกจากนี้ยังมีการชี้แนะแนวทางในการปฏิบัติ เพื่อเพิ่มพูนความเข้าใจในหลักธรรมเหล่านี้ โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับกุศลกรรมสำหรับการดำเนินชีวิตที่เชื่อมโยงกับพระผู้มีพระภาคฯ เพื่อตอบโจทย์การเรียนนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและเข้าใจถึงการประยุกต์ใช้คำสอนต่างๆในการพัฒนาตนเอง

หัวข้อประเด็น

-อุโบสถ
-พระวินัย
-การปฏิบัติธรรม
-การศึกษาในพระพุทธศาสนา
-การเจริญกุศล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโฒค - คติสมุนไพรสู่กา อรรถาธิษฐานพระวินัยมหาวรรค ตอน ๑ หน้า 211 ปฐมสิกขาอุโบสถ และสามัคคีอุโบสถ และไม่รู้จักอุโบสถ ๔ อย่าง โดยต่างด้วยสังอุโบสถเป็นต้น ไม่รู้โบสถกรรม ๔ อย่าง ไม่รู้ ปฐมภาค ๒ อย่าง ไม่รู้ปฐภคุญาคมกฤต ๔ อย่าง [๒๕] ในข้อว่า โย ตถค ภิกขุ พุทธโต ปฐมโลง นี้ มี วิจัยฉว่า ปฐมโภคพระผู้มีพระภาคทธอญญาอนุญาตแก่ภิกษุฉลาดแม้ยัง หนุ่งก็จริงแหละ ถึงกระนั้น ในข้อนี้ ควรทราบอธิบายดังนี้ :- ถ้าปฐมกุมาเทสน ๕ หรือ ๔ หรือ ๓ ของพระองค์ ยังจำ ไม่ได้ ส่วน ๒ อุทสเป็นของไม่มากพร่อง ชำนาญดี คลองปาก, ปฐมกุมา คงเนื่องด้วยพระองค์แต่ถ้าแม่เพียงเท่านี้ ท่านยอมไม่อาจ เพื่อทำให้ชำนาญได้ ย่อมเป็นหน้าที่ของพระภิกษุผู้อดทนเทียว. สองบทว่า สามุตตา อวาฏา ได้แก่ อวาฏใกล้เคียงกัน. บทว่า สุตุ มีความว่า เพื่อประโยชน์แก่การมาในวันนี้เอง. วิจัยฉในข้อว่า นวิก ภิกขุ อนามุตู นี้ว่า ภิกษุใ สามารถ จะเรียนได้ พึงบ่งบั มภูมิเห็นปานนั้น، อย่างบังคับภิญญาที่จิ. ในบทว่า ดตม ภนุต นี้ มีอธิบายว่า คติเป็นที่ดินแห่ง คติ ทั้งหลายเท่าไร ชื่อว่า คติเท่าไร, คือคำ. มนุษย์ทั้งหลายหมายเอา กุศลกรรมที่เนื่องด้วยพระผู้เป็นเจ้า ถามว่า “ภิภูมิมีประมาณเท่าไร ขอรับ ?" ข้อว่า สตาติ ว คาเหตุ มีความว่า เราตาถอดอนุญาตให้ ภิกษุตือเอา คือ รวมสตาติแล้วมัน. ๑. พระบารมีนี้เป็น คติมิ. ภิกษาวิธีวินิจฉานนี้ก็เป็น คติมิ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More