หนังสือสมเด็จปาฏิทาการ อรรถถาพระวินัย ภาค ๑ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 1 หน้า 1
หน้าที่ 1 / 233

สรุปเนื้อหา

หนังสือสมเด็จปาฏิทาการ อรรถถาพระวินัย ภาค ๑ สอนเกี่ยวกับมหาวรรณ วรรณนาฎ จุลวรรณ และปรีิวร วรรณณะ โดยมุ่งเน้นการศึกษาของนักเรียนชั้นประโยค ๕ ในด้านพระวินัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหามุ่งเน้นการปฏิบัติและการแก้ไขปัญหาในเรื่องพระวินัยที่อาจเกิดขึ้น โดยมี຃แนวทางที่ชัดเจน ต้องระมัดระวังในการใช้ศัพท์ ซึ่งบางครั้งมีคำแปลที่ผิดพลาดในระดับนักเรียน หนังสือเล่มนี้จึงเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญแก่การศึกษาและการเรียนรู้พระวินัยปรินิ ซึ่งสามารถใช้ในด้านวิทยาและพัฒนาความรู้ได้อันกว้างขวาง สำหรับการพิมพ์ครั้งนี้มีการเน้นการแสดงคำบาลีเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและค้นคว้าได้ง่ายขึ้น หนังสือเล่มนี้มีคุณค่าในเชิงการศึกษาและการเข้าถึงพระธรรมทฤษฎีที่เหมาะสมสำหรับผู้ศึกษา

หัวข้อประเด็น

- พระวินัย
- วรรณนาฎ
- การศึกษา
- นักเรียนบาลี
- การอ่านและการค้นคว้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คำชี้แจง หนังสือสมเด็จปาฏิทาการ อรรถถาพระวินัย ภาค ๑ ว่า ด้วย มหาวรร วรรณนาฎ จุลวรรณ วรรณะ และปรีิวร วรรณะ ท่านจัด เป็นหลักสูตรครบถ้วนประโยค ๕ ซึ่งนักเรียนชั้นนี้ ต้องศึกษาตรง เนื่อง เรื่อง พระวินัยปรินนี้ อธิบายความทั้งบงแห่งปฏิบัติทั้งปัญหา ที่ห่าง ออกไป ซึ่งนักวินัยและนักธรรมควรศึกษาด้วยให้ความรู้กว้างขวาง ยิ่งขึ้น หนังสืออันนี้ว่าโดยประโยคไม่สู่กันนัก แต่เป็นเรื่องวินัยจึงต้อง ระมัดระวังไม่ให้เคลื่อนไกลตา ว่าโดยศัพท์ก็มีศัพท์ที่แปลก ๆ อยู่ไม่ น้อย ข้าพเจ้าเคยเป็นกรรมการตรวจบาลประโยค ๕ ได้พบ นักเรียน แปลผิดความ ผิดศัพท์ เป็นจำนวนไม่น้อยเลย ถึงแม้ปรากฏว่า นัก เรียนประโยคอันนี้มีจำนวนตกน้อยกวาประโยคอื่น แต่มีมืือดี ก็ควร จะได้มากกว่าที่เป็นอยู่ในเวลานี้ หนังสือสมเด็จปาฏิทากา แปลนี้ ย่อมเป็นอุปกรณ์โดยตรงแก่ นักเรียนบาลประชโยค ๕ และเป็นอุปกรณ์แก่วิินัยและนักธรรมด้วย เพราะฉะนั้น พระราชวาที (วนอ อุฑฺายี ป. ๖) วัดกุฎษมธิราม จึงแปลและให้พิมพ์ขึ้นแต่ พ.ศ. ๒๕๖๖ ครั้งยังเป็นเปรียญ นับว่าได้ อำนวยประโยชน์แก่บุคคลหลายจำพวกดังกล่าวแล้ว เมื่อพระราชวาที เป็นกรรมการมหาอภิญาณ จึงได้มอบสิทธิให้มหาเภฎ- ราชายาย ข้าพเจ้ารวมว่าหนังสือพิมพ์ครั้งจบกกตรา นักเรียน หาใช่ก า จจัดการให้พิมพ์ต่อไป ในการพิมพ์ครั้งนี้ ได้ตั้งข้อย่อนหน้าใช้บทตั้งที่เป็นคำบาลีด้วย อักษรใหญ และได้บอกเลขหน้ามนต์ปาฎิทา ภาค ๓ ไว้ภายใน วงเล็บเหลี่ยมทรงกลางระหว่างคำเปลชันนั้น ๆ เพื่อให้ค้นคำบาลี ที่ต้องการได้ง่าย นอกจากนี้ได้บอกที่มีแผนเรื่องไว้ในชงหน้า น่ เพื่อให้นักศึกษาจะได้ดูความคลาดในที่อื่นด้วย ส่วนคำบาลีข้างหน้า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More