ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - คติสมัยนปาฎิหาริย์ อรรถาธิบายพระวนัย มหาวรรค ตอน ๑ - หน้าที่ 174
บ้าน จึงใช้ได้ ส่วนทางเดินเท้าได้ แยกออกจากทางเกวียนแล้ว,
กลับลงสู่ทางเกวียนนั่นเองอีกดี, ทางเดินเท้าและทางเกวียนเหล่าใด
ใช่ไม่ดีได้ดี ทางหล่านั้น ใช่ไม่ดี ทางทั้งหลายที่พ่อค้าเดินเท้า
และพ่อค้าเกวียน ยังใช้เดินอยู่เสมอ จึงใช้ได้. ถ้าทาง ๒ แรง
แยกจากกันไปแล้ว ภายหลังบรรจบเป็นทางเดียวกัน เช่นทุมเกวียน
ไชว์, ทางนั้นพิ้งกำหนดตรงที่แยกเป็น ๒ แรง หรือที่บรรจบ
เป็นนิมิตครั้งเดียวแล้ว อย่ากำหนดอีก. เพราะนิมิตนั้น เป็น
นิมิตเนื่องเป็นอันเดียวกัน. ถ้าทาง ๔ แรงอ้อมรอบวัดอยู่แล้วแยก
ไปในทิศทั้ง ๕, กำหนดทางหนึ่งตรงทามกลางแล้ว จะกำหนดอีกทาง
หนึ่ง ไม่ควร. เพราะนิมิตนั้น เป็นนิมิตเนื่องเป็นอันเดียวกัน.
แต่จะกำหนดทางที่ผ่านทะแยมมุขไปเป็นนิมิตในด้านอื่น ควรอยู่,
ส่วนทางที่ ลัดผ่านน่ามกลางวัดอยู่ในไป ไม่ควรกำหนด. เมื่อกำหนด
แล้ว วัดที่อยู่อยู่ในนั้น. ถ้ากุ้งทั้งหมดทำทางลอด้าน
ในแห่งทางเกวียนเป็นนิมิต, ทางอ้อมอย่าภายนอกสีมา, ถ้าจะทำ
ทางล้อด้านนอกเป็นนิมิต, ทางล้อด้านนอกเทียว ย่อมอย่าภายนอก
สีมา. ทางที่เหลือบูร้เข่ายในสีมา. อนพระวิษณุรื่กำหนด
ทางเป็นนิมิต สมควรากำหนดโดยชื่ออย่างใดอย่างหนึ่งในชื่อว่า
มคุโค, ปุนโค, ปิณโค, ปติ, ปุจิโป เป็นอาทิ. ทางที่ไปไม่ได้รอบวัดที่
อยู่ โดยสันฐานดังกล่าว กำหนดเป็นนิมิตในทิศหนึ่งแล้ว จะกำหนดใน
ทิศอื่นไม่ควร.
วินิจฉัยในวิมากนิมิต:-