ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - คติสํนับป่าสักกิจก ถรรกาภระวินัย มหาวรรค ตอน ๑ หน้า 215
กัลเมื่ออาเปล่งวาจา ย่อมให้รู้ว่าวาจา เมื่ออาจทั้ง ๒ ประการ
ย่อมให้รู้ทั้งกายวาจา
ข้อว่า สุมง คุตฺฺ คณฺฺวา อุปโม คาถุปโม มีความว่า
ถ้ากิริยาผู้ถวายเช่นนั้นมีมาก, สงสังตั้งอยู่ตามลำดับกระทิกณฺญ
ผู้อาสาพึงปองไว้ในทตฺถบาส ถ้ากิริยาอำราผู้ถวายในระยะไกล, สงสํ
ไม่พอ; วันนั้น ไม่ต้องทำจบสภ, (๑๕๕) อันสงผู้เป็นวรคร
ไม่พึงทำจบสภแท้
ข้อว่า ตุณฺฑวา ปกฏฺฺม มีความว่า ภิกษุผู้นำปริสุทฺธิ์ ไม่
มาสู่ามกลางสงสั จะไปณที่บางแห่งจากนั้นทีเดียว
ข้อว่า สามเณโร ปฏิชาณาติ มีความว่า ภิกษ์ผู้นำปริสุทฺธิ์
ปฏิญฺญาอย่างนี้ว่า “ข้าเจ้าเป็นสามเณร" หรืออบื่นอึ่ติที่ตนเป็น
สามเณรจริง ๆ หรือดั่งอยู่ในภูมิเก่าในภายหลัง ในบท
ทั้งปวง ก็นี้
ข้อว่า สงสมปุปฺฺติโต ปกฏฺฺม มีความว่า ภิกษุผู้นำปริสุทฺธิ์
ถึงหัตถบาณของภิกษุ ๔ รูปโดยตามคาถานั้นที่สุด ผู้ประชุมกัน
เพื่อประโยชน์แก่จตุโป โบสถแล้ว หลีกไปเสีย ในบททั้งปวงกันนี้
ก็แล้วจินตฉันในการนำปริสุทฺธิ์นี้ พึงทราบดังนี้ :-
ปริสุทฺธิของภิกษุผู้นำรูป อนภิญฺญาเลขหนึ่งนามแล้ว, เป็น
อันนำมาแล้วแท้ แต่ภิกษุผู้นั้น พบภิกษูอื่นในกลางทาง จึงให้
ปริสุทฺธิของภิกษุทั้งหลายที่รับมาด้วย, ปริสุทฺธิของตนด้วย
ปริสุทฺธิของภิกษุผู้นำนี้เท่านี้ย่อมมา, ส่วนปริสุทฺธิออกจากนี้จด