คติสมุนไพรและการรักษาโรคในพระวินัย ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 1 หน้า 161
หน้าที่ 161 / 233

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอเกี่ยวกับการรักษาผู้ป่วยตามหลักคำสอนในพระวินัย โดยมีการยกตัวอย่างผู้ที่ควรรับการรักษาและผู้ที่ไม่ควรให้บวช เนื้อหาเกี่ยวข้องกับการวางแผนในการดูแลสุขภาพและการประเมินอาการของผู้ป่วย รวมถึงเรื่องของโภชนาการและการใช้สมุนไพรเป็นแนวทาง นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงลักษณะและอาการที่ผู้ป่วยอาจมี เช่น โรคดีและโรคร้ายอื่น ๆ ที่ควรได้รับความสนใจ

หัวข้อประเด็น

-คติสมุนไพร
-การรักษาในพระวินัย
-การประเมินผู้ป่วย
-สุขภาพและโภชนาการ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - คติสมุนไพรสำหรับการ ถรรกภาพพระวินัย มหาวรร ต ตอน ๑ - หน้าที่ 154 ตุ่มแข็ง ผู้นันไม่ควรให้อวบชา แต่ท่าของผู้ใด ยังไม่นั้นอับแข็ง เป็น ของที่อาจผูกเครื่องรัดไว้ในหลุมน้ำ ถอนด้วยทรายเปียกน้ำเต็ม ให้เหยียบลงจนเส้นเอ็นปรากฏ และแข็งเป็นเหมือนกระบอกน้ำมัน, จำทำท้องของผู้นันให้เป็นเช่นนี้ แล้วให้เขาววรอยู่. ถ้าตุ่มนั้นเนื่องขึ้นอีก แม้เมื่อจะให้อปสมท พิงทำอย่างนั้น จึงให้ อปมบ. คนเน่าเกลียด ไม่่น่าชอบใจ มีความเดือดร้อนเป็นอันติ์ มีโรค ทีรักษาไม่หายด้วยโรคชนิดใดชนิดหนึ่ง ในบรรดาโรคดีสีดวงนอก ริสีดวงลำใส่ โรคดี โรคเสมหะ โรคไอ โรคดีด เป็นต้น ชื่อว่า คนมีโรคเป็นค่านย่างบาง [๑๐๔] แม่บุคคลนี้ไม่ควรให้บวช. ผู้ใดย่อมประทุมร่ายบริษัท เพราะความที่ตนมีบุญเปล่า ผู้นัน ชื่อปรสุทะะ คือเป็นคนสูงเกินไป มีนิวาประเทศแต่ระของ ชนหลายด้านบ้าง เติดดไปดังรูปแห่งดู เติดทั้ง ๒ ท่อนบ้าง คำ เกินไป คล้ายดอกไม้ที่นาถูกไฟไหมบ้าง ขาวเกินไป มิสสีลายบาตร ทองแดงที่ขั้วคอคมนั่มและเปรียงเป็นต้นบ้าง ผอมเกินไป มีเนื้อ และเล็อต้นน้อย ประหนึ่งร่างกายงี่มีแต่กระดูก เรีย และหงันบ้าง, อ้วนเกินไป มีเนื้อด้านหาป มีกพุ่งลุ่ยเซ็นกัมมหาทูบ้าง, มิสระะ ใหญ่เกินไป เหมือนวงกระเช้ายาวขึ้นซึ่งกั้นศรีษะบ้าง, มิสระะพลีมเกิน ไป คืประกอบด้วยศรีษะเล็กนักไม่สมตัวบ้าง, มิสระะเป็นลอน ๆ คืประกอบด้วยศรีษะเช่นกับทะลายแห่งผลตาลบ้าง, มิสระะเรียว แหลม คืประกอบด้วยศรีษะอันสอบขึ้นไปโดยลำดับบ้าง, มิสระะ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More