ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค- คำอธิบายปสาทิกา อรรถถากพระวินัย มหาวรรค ตอน ๑ หน้า ๕
เป็นต้น ที่ท่านกล่าวโดยนัยเป็นต้นว่า อวิชชาปัจจยา สุขุมรา
ดังนี้ เรียกว่า อนุโลม เพราะทำกิจนี้ที่คนพึงทำ ปัจจวยการนั้นเอง
ที่ท่านกล่าวโดยนัยนี้เป็นต้นว่า อวิชชายตวา อเสวรากิโรณ
[๔] สุขวนิรีโณ ดังนี้ เมื่อดับเพราะนิรีโณ คือไม่เกิดขึ้นอ่อนไม่ทำ
กินนั้น เพราะฉะนั้น จึงเรียกว่า ปฏิโลม เพราะไม่ทำกินนั้น อีก
อย่างหนึ่ง ปัจจวยาการที่กล่าวแล้ว ตามนัยก่อนนั้นและ เป็นไปตาม
ประพฤติกรรม นอกจากนี้ไม่ป่อนประพฤติกรรณ์ ก็เลยวามเป็นอนุโลม
และปฏิโลม ในปัจจวยาการ ยังไม่ต้องด้วยเนื้อความอันนี้ เพราะ
ท่านมีได้กล่าว ตั้งแต่ต้นจนปลาย และตั้งแต่ปลายจนถึงต้น
บทว่า มนตฤกษติ ตับว่า มนสี อกาสิ แปลว่า ได้ทำใน
พระหฤทัย ในอนุโลมและปฏิโลมทั้ง ๒ นั้น พระผู้พระภาคได้รง
ทำในพระหฤทัยด้วยอนุโลมด้วยประกาย เพื่อแสดงประกายนี้ก่อน
พระธรรมสังกาจารย์จึงกล่าวคำว่า "อวิชชาปัจจยา สุขุมรา"
เป็นต้น ในคำนั้นผู้กายพึงทราบความในบททั้งปวงโดยนัยว่า
อวิชชานั้นด้วย เป็นปัจจวยด้วย เพราะฉะนั้น ชื่อว่า อวิชชาเป็น
ปัจจัย สังวรทั้งหลายย่อมเกิดพร้อม เพราะอวิชชานเป็นปัจจุบัน
ความสังวรในบทว่า มนตฤกษติ นี่แหล่ะ ส่วนความผิดดารผู้ต้อง
การวินิจฉัยที่พร้อมมูลด้วยอาการทุกอย่าง พึงถือเอาจากวิสุทธิธรรม
สัมโมทวนที และอรรถกถาแห่งมหาวิกา และพระผู้มีพระภาค
ได้ทรงทำในพระหฤทัย โดยปฏิโลมด้วยประกาย เพื่อแสดง