คติสมันป่าศักดิ์ภา อรรถาธิษฐานพระวินัยมหาวรรค ตอน ๑ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 1 หน้า 140
หน้าที่ 140 / 233

สรุปเนื้อหา

เอกสารนี้กล่าวถึงระเบียบและคติในการบวชของพระภิกษุและสามเณร โดยเน้นถึงความแตกต่างของการปฏิบัติในสังกรรม การตั้งแต่แบบที่ไม่เหมาะสมไปจนถึงแบบที่เหมาะสม รวมถึงการยอมรับและไม่ยอมรับในสังวาสต่างๆ เพื่อรักษาความสงบสุขในชุมชนทางศาสนา การศึกษาวินัยนี้เป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้ที่ต้องการรู้จักความหมายของการบวชและการเป็นบุตรแห่งพระพุทธเจ้า เหตุผลของการบวชและแนวทางการปฏิบัติมีความสำคัญที่จะต้องยึดมั่นเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายต่อวัดและความศรัทธาในคำสอนของพระพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

- การบวชของพระภิกษุ
- กฎระเบียบทางพระพุทธศาสนา
- ความสำคัญของสังวาส
- ปัญหาทางจิตใจในปฏิบัติเคารพ
- การรักษาศีลในชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - คติสมันป่าศักดิ์ภา อรรถาธิษฐานพระวินัยมหาวรรค ตอน ๑ หน้า ๑๓๓ ใน ๑ ชนิดนั้น ผู้ใดบวชเองแล้วไปวัดที่อยู่ ไม่บ่นพรรณาแห่งภิษุ, ไม่ยินดีการไหว้ตามลำดับผู้แก่, ไม่ห้ามด้วยอาสนะ. ไม่เข้าไปสังกรรมศูโบสถและบทราษฎร์ในนั้นนะ; ผู้นี้ ส่อเกลักษณ์ เพราะเขาลักแต่เพียงเภสัชเท่านั้น. [๔๕] ฝ่ายผู้ใด เป็นสามเณรซึ่งบวชแต่ภิกขุทั้งหลายแล้ว ไปต่างประเทศ กล่าวเท็จบรรพบุรุษว่า "ข้ามเจ้า ๑๐ พรรษา" หรือว่า "ข้ามเจ้า ๒๐ พรรษา" ยินดีการไหว้ตามลำดับผู้แก่, ห้ามด้วยอาสนะ เป็นสังกรรมอุปโบสถและบทราษฎร์เป็นต้น. ผู้นี้ชื่อคน ลักสัจวาส เพราะเขาลักแต่เพียงสัจวาสเท่านั้น. อันความต่างแห่งกิริยามั้งทั้งปวง มีบรรพษาแห่งภิษุเป็นต้น ผู้ศึกษาวาวรงว่ากล่าว “สงวาส” ในอรรถนี้. แม้นบุคคลผู้อยูสงวาสแล้ว ปฏิบัติดูอย่างนั้น ด้วยคิดว่า "ใคร ๆ ย่อมไม่รักรักของเรา" ก็มั่นเหมือนกัน. ส่วนผู้ใดบวชเองแล้วไปวัดที่อยู่ นับพรรษาแห่งภิษุ, ยินดีในการไหว้ตามลำดับผู้แก่, ห้ามด้วยอาสนะ, เขาในสังกรรมมีอุโบสถและบารณเป็นต้น; ผู้นี้ ชื่อคนลักทั้ง ๒ เพราะเหตุที่ตนลักทั้งเภสัชทั้งสังวาส. คนเลยสวาสกทั้ง ๓ ชนิดนี้ เป็นอุปสมบัน ไม่ควรให้อุปสมบัน, เป็นอุปสมบัน ควรให้ฉันหย่าละ: แม้บวชอีกก็ไม่ควรให้บวช. และเพื่อไม่งามในเลยสังวาสการนี้ พึงราบบบทปฐินณะว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More