คติยินดีปลาดาสำทิกา อรรถถาภพระวินัยมหาวรรค ตอน ๑ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 1 หน้า 33
หน้าที่ 33 / 233

สรุปเนื้อหา

ในอรรถถาภพระวินัยมหาวรรค ตอนที่ 1 อธิบายถึงลักษณะของสัตว์ที่มีและไม่มีดี ใครสามารถให้ความรู้ได้ง่ายหรือยาก รวมถึงความเป็นอันตรายจากการมองเห็นปรโลกและความเชื่อที่หลงผิด ข้อความนี้มีเอกลักษณ์โดยการเปรียบเทียบกับดอกบัวที่อยู่ในน้ำและอธิบายถึงความหมายของอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่กล่าวถึง เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจธรรมะและสภาพของสัตว์ในโลก.

หัวข้อประเด็น

-คุณลักษณะของสัตว์
-การให้ความรู้
-การมองเห็นปรโลก
-ธรรมะในพระวินัย
-การเปรียบเทียบด้วยดอกบัว

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - คติยินดีปลาดาสำทิกา อรรถถาภพระวินัยมหาวรรค ตอน ๑ - หน้าที่ 26 น้อย; ของสัตว์เหล่าในมีมาก สัตว์เหล่านั้น ชื่อผู้มีกี่สิในจักมกุ อินทรีมียศทรงเป็นต้น ของสัตว์เหล่าใดกล้า สัตว์เหล่านั้น ชื่อผู้มีกี่ อินทรียกัล่า, ขอสัตว์เหล่าใดอ่อน สัตว์เหล่านั้น ชื่อผู้มึงอินทรีย์ อ่อน. อากาศมิรทราเป็นต้น ของสัตว์เหล่าใดดี สัตว์เหล่านั้น ชื่อ ผู้มีกากรดิ; ของสัตว์เหล่าใดไม่มีดี สัตว์เหล่านั้น ชื่อผู้ออการะชั่ว. สัตว์เหล่าใด กำหนดเหตุที่ท่านกล่าวได้ คือเป็นผู้มีสามารถจะให้รู้ได้ โดยง่าย สัตว์เหล่านั้น ชื่อผู้จะพึงสอนให้รู้ได้โดยง่าย สัตว์เหล่าใด ไม่เป็นอย่างนั้น สัตว์เหล่านั้น ชื่อผู้จะพึงสอนให้รู้โดยยาก สัตว์เหล่าใดเห็นปรโลกและไทโดยความเป็นภัย สัตว์เหล่านั้น ชื่อ ผู้มิปกติเห็นปรโลกและไทโดยความเป็นภัย. บทว่า อุปปลิปิง ได้แจ่ ในอวปุ. แมในบทนอกจากนี้ ก็ยัง นี้เหมือนกัน. บทว่า อนุตโนปกุโปลิส ได้แจ่ ดอกบัวที่งอยู่ภายใน น้ำ อันน้ำเลี้ยวไว้. บทว่า สโมทธิวติญ ได้แจ่ ดอกบัวที่งอยู่สมอ้น. หลายบทว่า อูฐิ องอุดมม ติฐุตาติ ได้แจ่ ตั้งอยู่นันน้ำ. [๑๒] บทว่า อปรูต ได้แจ่ เปิดแล้ว. สองบทว่า อมตสุ ทวารา ได้แจ่ อธิษฐรร. จริงอยู่ อธิษ มรรคกัน เป็นประตุแห่งพระนิพพาน กล่าวคือ อมตรธรรม. สองบทว่า ปฐมอนุต สุที มีความว่า ชนทั้งปวงจนปล่อย คือ จงละความเชื่อของตน. ในสองบทข้างท้าย มีเนื้อความดังนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More