ธรรมาภูมิในพุทธธรรม ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 1 หน้า 49
หน้าที่ 49 / 233

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเน้นไปที่การศึกษาแนวคิดและหลักคำสอนในพุทธศาสนา โดยการอธิบายถึงธรรมาภูมิและความสำคัญของการดำเนินชีวิตตามหลักธรรม นอกจากนี้ยังกล่าวถึงแนวทางปฏิบัติที่นำไปสู่การเป็นอรหันต์และการเกิดกุศลตามหลักธรรมที่ถูกต้อง ข้อความนี้มุ่งหวังที่จะให้ผู้ศึกษาเข้าใจความหมายและการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่นเดียวกับการตระหนักถึงบุพพกรรมและอิตถีสุคนธ์ในทางปฏิบัติ

หัวข้อประเด็น

-ธรรมาภูมิ
-อรรถถพระวิเนษ
-พุทธธรรม
-การดำเนินชีวิตตามหลักธรรม
-การเป็นอรหันต์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ติดสนิทปลาสักกิอ อรรถถพระวิเนษ มหาวรร ดอน ๑ - หน้าที่ 42 สองบว่า ธรรมาภูมิ อุปลาปี มีความว่า โลกาปิติมิรค ได้เกิดขึ้นแก่มวล สกทากามมรร ได้เกิดขึ้นแก่มวลพวก อนาคารม- มรร ได้เกิดขึ้นแก่มวลพวก จริงอยู่ มรรคลานั้นทั้ง ๑ ท่านเรียกว่า "ธรรมังกะ" ได้ว่าสายเหลากนั้นได้เป็นนั่นเอง ๑๐ คนในคุณวิล- ชาดก. ครั้งนั้นพวกเขาได้ฟังทีโลวาแล้วรักสิต ๕ บุพพกรรม ของหลายเหล่านั้นเท่านี้. [อุรวกัสสะปาวัตถุก] บทว่า ปูโจ คืเป็นหัวหน้า. บทว่า ปาโมกโจ มีความว่า เป็นผู้สูงสุด คือลิขปัญญาอ่อนแว บทว่า อนุปจจ ได้แต่ไม่ให้เสีย. สองบทว่า เถสา เตส มีความว่า (อ่ม) เผเหหนาก ด้วยเถ ของตน. บทว่า ปริยายตุย มีความว่า พึงครองจำเสีย หรือพึงให้ ออควายไป. บทว่า มกุฎ ได้แก่วาคโมโร. ข้อว่า น เตว จ โอ อรหา ยา อะท มีความว่า บุคคล ผู้ซึ่งดังเราสำคัญว่า "เราเป็นอรหันต์ อวดอ้างอยู่ฉันใด จะได้เป็น อรหันน์นั้น นามได้ก็เช่นเดียว." สงบทว่า อุตุเมน อุณหสีรวามูญ มีความว่า เราพึง อยู่ตลอดวันทั้งในวันนี้. บทว่า ผาสุกโมง คือตุ่มจะเกิดกุศล. ๑. บุ. ชา. ปรม. ๒๐. ชาตุกฎกถา. ปุจบ. ๗๘.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More