คติสมัยตำสากรีกอรรถกถาพระวินัยมหาวรรค ตอน ๙ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 1 หน้า 66
หน้าที่ 66 / 233

สรุปเนื้อหา

พระวินัยมหาวรรค ตอนที่ ๙ ดำเนินเรื่องเกี่ยวกับการถวายบาตรและข้อห้ามในการพูดขณะร่วมหรือร่วมกิจกรรมกับสงฆ์ รวมถึงความสำคัญของการปราศจากอาบัติและการกล่าววาจาในที่ที่เหมาะสม ตัวอย่างการอภิปรายจะมีเรื่องการพูดถึงการออกจากบ้านเพื่อไปยังที่ที่อยู่ใกล้อุปชาลาย์ เพื่อไม่ให้เกิดข้ออาบัติ และยังมีการย้ำเตือนเกี่ยวกับการรักษาศีลในปฏิบัติ การศึกษาคำสอนในพระบาลีนี้จะช่วยทำให้เห็นถึงความละเอียดอ่อนในธรรมะของพระพุทธเจ้าและบทบาทของสงฆ์ในสังคม

หัวข้อประเด็น

- คติธรรมในพระวินัย
- ความหมายของอาบัติ
- การพูดและศีลธรรม
- บทบาทของสงฆ์ในสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - คติสมัยตำสากรีกอรรถกถาพระวินัยมหาวรรค ตอน ๙ - หน้าที่ 59 นะก็ พึงถวายบาตรของตนแก่ท่าน รับบาตรนั้นมา. ข้อว่า น อุปชุนายสุทธิ ภวนาสุทธิ อนุตรนา กถา โอปะเตตุพุทพะ มีความว่า เมื่ออุปชาลังกำลังลุ่มอยู่ในละแวกบ้าน หรือในอื่นๆ เมื่อตำของท่านยังไม่บูร ไม่ควรพูดสรอเรื่องอื่นขึ้น. ก็แลตั้งแต่บัดนี้ไป ในที่จะห้ามไว้ด้วย น อักษร (ที่แปลว่า ไม่ หรือ อย่าง) ในที่นั้นทุกแห่งพิธีทราบว่า เป็นอาบัติ ทุกกฎ. จริงๆ อยู่ เป็นธรรมานั้นน่ะ. ข้อว่า อาปุตุตตามุตา ภวนาสุทธิ มีความว่า เมื่ออุปชาลาย์ กล่าววาจาใกล้ต่ออาบัติ ด้วยอานาจปกไสมัสสิกบาบ และทุจูลาล สิกาบาบทเป็นต้น. บทว่า นิวนตภุโล ความว่า ๑๗๓ พึงห้ามเป็นสงฆ์อย่างนี้ว่า "พูดเช่นนี้ควรหรืออับ?... ไม่เป็นอาบัติหรือ? แต่ตั้งใจว่าจักห้ามแล้ว ก็ไม่ควรพูดคะท่านว่า "ท่านผู๋หญิงอย่าพูดอย่างนั้น." ข้อว่า ปรมุตตะ อานุติวา มีความว่า ถ้าบ้านอยู่ไกลหรือ ในบริเวณก vincีน ไข้ พิกลจากบ้านเสื่อม. ถ้าบ้านอยู่ไกลไม่มีใคร มากับอุปชาลาย์ ควรออกจากบ้านพร้อมกับท่านนั้นแล้ว แล้วเอาจิว ห่อมตะสะพายริบมาก่อนแต่กลางทาง. เมื่อกลับอย่างนี้ มาถึงก่อน แล้วพึงทำวัตรทุกอย่างเป็นอัน. สองบทว่า สินัน โหว มีความว่า เป็นของชุม คือ เป็นโยก เหงื่อ. ข้อว่า จิตริคุตี กุญแจ อุตสาหตุวา มีความว่า พิง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More