คติสงบสักกี้ อรรถาธิบาย พระวินัย มหาวรรค ตอน ๑ - หน้า 136 ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 1 หน้า 143
หน้าที่ 143 / 233

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้มีการกล่าวถึงวิถีปฏิบัติของสามเณรที่มีการจัดการและการระมัดระวังในเรื่องของจิตใจและการเพศสัมพันธ์ ว่าการที่จิตรู้สึกเป็นอย่างไรต่อสิ่งแวดล้อมบางครั้งอาจทำให้เกิดความเข้าใจผิดได้ และแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการคงความบริสุทธิ์ในระหว่างการฝึกปฏิบัติ รวมถึงการยืนยันตัวตนที่ถูกต้องตามหลักพระวินัย โดยมีการถ่ายทอดเรื่องราวของสามเณรสองรูปที่มีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการบวชและการปฏิบัติในทางพระพุทธศาสนา โดยบอกว่าไม่อาจให้บวชได้หากไม่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง

หัวข้อประเด็น

-การปฏิบัติของสามเณร
-ความสำคัญของพระวินัย
-การคงความบริสุทธิ์
-ปัญหาความเข้าใจผิดในทางพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - คติสงบสักกี้ อรรถาธิบาย พระวินัย มหาวรรค ตอน ๑ - หน้าที่ 136 'วิธีของเราสงบแล้ว' คำว่า ถึงทั้งหมด เป็นเช่นกับคำชี้ว่ามา ก่อนนั้นแฉ อีกคนหนึ่งไปสักกะติ ลสิกาขาเป็นฤาษีแล้ว มาทำใน ว่า "จิตรวเหล่านี้จักญานเสียที่นี่ ; ถ้ามีเจตถือไว้หารด้วย เพศคู่นี้ ในระหว่างทาง ชนทั้งหลายจับเรา ว่า เป็นโจร อยากระนั้นเลย เราพึงทำให้เป็นของอัตภ์พึงรักษาไว้ จึงไปเกิด" ดังนี้ เพื่อจะนำจิตรมา จึงงุ่มและ หม่ำแล้วไปยังที่อยู่ พวก สามเณรและภิณฑุมุ่งทั้งหลายเห็นเธอมาแต่ไกลแล้ว พากันตรงเข้า ต้อนรับ แสดงวัตร เธอไม่ยินดี, ชี้แจงตนตามเป็นจริง, ถภิัฎฐ ทั้งหลายกล่าวว่า "นี่พวกเราจักไม่ปล่อยท่านไปละ" เป็นผู้ใดจะ ให้อวยชั่วผลการ เธออภิเษกทั้งหลาย พึงเปล่งคำว่ากาสะแล้วจึง ให้นวยช็ค. แต่แกเธอด่า "ภิญญาลนี้ไม่รู้ข้อเท็จจริงมาเพื่อ ความเป็นคนแล้ว" ดังนี้ จึงปฏิญญาความเป็นภิญญนั้นเอง ปฏิบัติวิถีต่างด้วยบันภรษาเป็นดน ซึ่งกล่าวแล้วในหนหลังทั้งหมด ผู้นี้ไม่ควรให้บวช. สามเณรโง่อีกรูปหนึ่ง ไปสู่สกุลอาทิตย์ สีกแล้ว เป็นผู้เอ็ม หน่วยด้วยการทำงาน จึงคิดว่า "บัดนี้เราจักเป็นสมณะอีกเที่ยว แม้พระเณรอ่อนไม่ทราบความที่เราสิกแล้ว" จึงเอาบาตรและจิรว นเองไปวิหาร, ไม่บอกเนื้อความนั้นแก่อื่นทั้งหลาย, ปฏิญญา ความเป็นสามเณร. ผู้นี้เป็นเองสงสกัเหมือนกัน ย่อมไม่ได้บวร.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More