การอนุญาตในพระวินัยมหาวรรค ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 1 หน้า 171
หน้าที่ 171 / 233

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงการอนุญาตให้มีอาจารย์สองรูปในการประกอบพิธีกรรมและการสวดประกาศในพระวินัยมหาวรรค นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงความสำคัญของอาจารย์และการร่วมกันในการสวดที่ควรเป็นไปตามหลักของพระพุทธศาสนา โดยบอกถึงความแตกต่างในการอุปชานและอาจารย์ที่ถือเป็นอุปสัมปทายตวิธี ซึ่งอธิบายถึงความสำคัญของการรักษาหลักเกณฑ์และการอนุญาตในการทำกิจกรรมในพระวินัย โดยมีข้อห้ามเกี่ยวกับการมีอาจารย์ต่างรูปในการสวดร่วมกัน ซึ่งเป็นการชี้ให้เห็นถึงการปฏิบัติตามคำสอนของพระผู้มีพระภาค เพื่อให้เกิดความถูกต้องและเป็นระเบียบในพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-การอนุญาตในอาจารย์
-การสวดประกาศและอุปสมปทปก
-ความสำคัญของพระวินัย
-ความแตกต่างของอาจารย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- คติสมจนปฏิภาณ อรรถาธิษฐานพระวินัยมหาวรรค ตอน ๑ หน้า 164 ว่า เราอนุญาตให้ อาจารย์ ๒ รูปอย่างนี้ คือ อาจารย์รูปหนึ่งสำหรับอุปสมปทปกคนหนึ่ง อาจารย์อีกรสำหรับอุปสมปทปกอีกคนหนึ่ง หรืออาจารย์เปรียญสภาผรามวาในประกาศให้เป็นสมปใน นะเดี่ยวกันได้. คำว่า เทว เทว ติว เอาทุนสถาวะ กถ ตยญ โฒ เอกรูปชูเมน มีความว่า เราอนุญาตให้โกษทการสวด ประกาศ ๒ คน หรือ ๓ คนร่วมกัน โดยยันกันนั่นและ. และ เราอนุญาตอนุสาสนาก็ยังกั้นนั้นแล้วอุปชานรูปเดียว. เพราะเหตุ นั้นอุปสมปทปกเปะ ๒ คน หรือ ๓ คน อันอาจารย์รูปเดียว พึง สวดประกาศ, กรรมวาจา ๒ หรือ ๓ อันอาจารย์ รูป หรือ ๓ รูป พึงสวดด้วยมือนพร้อมกันนี้เดียวอย่างนี้ คือ อาจารย์รูปหนึ่งพึง สวดแกู่อุปสมปทปกจะรูปหนึ่ง แยก ๆ กันไป. แต่ทั้งอาจารย์ก็ ต่างรูป อุปชานก็ต่างรูปกัน, คือ พระตรีสระสวดประกาศสัทธิ. วิหาริกของพระสุมุนเณร, พระสุมุนเณรสวดประกาศสัทธิวิหาริก ของพระอิสสระ และต่างเป็นอญูประกงกันและกันอย่างนี้ ควร. และถ้าอุปปามายต่างรูปกัน อาจารย์รูปเดียว อย่างนี้ชื่อว่า ไม่ควร เพราะพระผู้มีพระภาคทรามไว้ว่า "แต่เราไม่อนุญาตด้วย อุปชานต่างรูปกันเลย" ดังนี้ จริงอยู่การห้ามนี้หมายเอาคำบาลีนี้. [อุปสัมปทายตวิธี] พิธาปาวินิจฉัยในเดาว่า ปจสุ อุปชาน คาถาเปนญโ นี้ ต่อไป ภิกษุใดอมสอดส่องไทยและมิใช้ไถ เหตุนี้ ภิกษุนั้นชื่อ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More