คติสนับสนุนคำถามในพระวินัย ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 1 หน้า 71
หน้าที่ 71 / 233

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอความสำคัญของการสื่อสารและการปฏิบัติในองค์กรสงฆ์ตามพระวินัย มหาวร คอน ๙ โดยเฉพาะการอ้อมนอบและการวิงวอนระหว่างภิกษุเพื่อให้อุปชามัยหรือผู้มีอำนาจไม่ทำกรรมที่เป็นภัยต่อผู้อื่น การปฏิบัติตามคำสอนนี้ช่วยส่งเสริมให้ภิกษุทั้งหลายรักษาศีลและปฏิบัติชอบตามหลักธรรมที่ถูกต้อง ก่อให้เกิดความเจริญในสังคมสงฆ์ และเป็นแนวทางที่ดีในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในองค์กร

หัวข้อประเด็น

-การสื่อสารในองค์กรสงฆ์
-คติธรรมในพระวินัย
-การปฏิบัติตามหลักธรรม
-ความสำคัญของการอ้อมนอบ
-แนวทางการแก้ไขปัญหาภายในองค์กร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - คติสนับสนุนคำถาม อรรถถาพระวินัย มหาวร คอน ๙ - หน้าที่ 64 ว่า "อย่าทำกรรมแก่ อุปชามัยของผมเลยอธิบดี" ถ้าภิกษุทั้งหลายจะทำ ซันนิยกรรม หรือ นิจกสรกรรม ให้ได้. พึง อ้อมนอบเธอทั้งหลายว่า "โปรดอย่าทำเลย." ถ้าภิกษุทั้งหลายจำทำจริง ๆ ก็นี้ พึงอ้อมนอบเธอฯว่า "ขอจงกลับประพฤติชอบเดิมครับ." ครั้งอ่อนวอนให้น่ากลับประพฤติชอบได้อย่างนั้นแล้ว พึง อ้อมนอบภิกษุทั้งหลายว่า "โปรดระงับกรรมเกิดขอรับ" ลองว่า สมุปริวาตต์ สมุปริวาตต์ ได้แก่พลิกกลับไป รอบ ๆ. ข้อว่า น จ อุปจิณฺฑน เถา ปกมฺ ปริสุทฺโธ มี ความว่า สัทธิหักภิกษุปรารถนาเปลี่ยนไปด้วยอานนบาท หรือด้วย กรณียะอย่างอื่น พิสูจก่อนจึงเข้าไป. ถ้าอุปชามัยประสงค์จะลูกขึ้นแต่เข้าไปภิกษาระไกล พึงสั่งว่า "พวกภิกษุหนุ่มน้อยเข้าไปเบื้องนาบเดิม" แล้วจึงไป. เมื่ออุปชามัยไม่ได้ส่งไว้ให้เสอ สัทธิหักไปถึงบริเวณ ไม่เห็นอุปชามัยจะเข้าบ้านก็ครัว.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More