ทรงห้ามในพระพุทธศาสนา ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 1 หน้า 154
หน้าที่ 154 / 233

สรุปเนื้อหา

ทรงห้ามในพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการกระทำที่มีผลต่อพระโลหิตของพระตาคตเจ้า โดยมีการแบ่งประเภทของการทำบูชาที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง ผลกระทบของการกระทำเหล่านี้มีตามการกระทำที่ถูกต้อง ซึ่งสามารถทำให้เกิดบุญมากหรือน้อยได้ตามเจตนารมณ์และกรรมที่เกิดจากการกระทำนั้น การอธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับอุกิโมทยุมบวดโกและความสำคัญของการทำจิตให้บริสุทธิ์เพื่อนำไปสู่การบรรลุธรรม

หัวข้อประเด็น

-ทรงห้าม
-โลกศุกุปปาทโก
-พระโลหิต
-บุญในพุทธศาสนา
-อุกิโมทยุมบวด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ทรงห้าม พิธีทราบวินิจฉัยแม่ในคำว่า โลกศุกุปปาทโก ภิกขุ เป็นดังนี้ :- ผู้ใดมีจิตประทุษร้ายคิดว่า ยังพระโลหิตในพระสิริสะซึ่งยังเป็นอยู่ของพระตาคตเจ้า แม้พอที่แมลงวันเล็ก ๆ จะกินได้ให้ออขึ้นเหมือนพระเทวทัต ผู้นี้ชื่อผู้ว่าโลกุปปาทา บรรพชาสงูอสมบูรณแห่งบุคคลนั้นทรงห้าม ส่วนผู้ใดใช้ผิดดัดแปลงเนื้อเสียและโลหิตออกทำให้ทรงสำราญเหมือนหมอชีวกได้ทำเพื่อให้พระโรคสงบไป ผู้นี้ย่อมประสบบุญมากน้อย. [อุคิโมทยุมบวัติ] บทว่า อุกิโมทยุมบวดโก มีรภระวิเคราะห์ว่าหมายถึงเครื่องปรากฏ (ที่ตั้งขึ้น) โดยกรรม ๒ อย่าง คือ โดยกรรมเป็นเหตุตั้ง อธินิมิตให้เกิดขึ้น ๑ โดยกรรมเป็นเหตุตุปสมนิมิตให้เกิดขึ้น ๑ ของบุคคลนั้นอยู่ เหตุนัน เข้าสืออุกิโมทยุมบวต. บทว่า กรติโมติ มีความว่า ย่อมทำตนเองด้วยความละมิดด้วยอำนาจบุญในศรัทธาทั้งหลาย ด้วยปริสุทธิมี. บทว่า กรรปิติ มีความว่า ย่อมชวนบูรณ์อื่นให้ทำความละมิดด้วยอำนาจบุญ ในอธินิมิตของตน. อุกิโมทยุมบวตนันนี้ มี ๒ ชนิด คือ สตรีอุกิโมทยุมบวต ๑ บรรุอุกิโมทยุมบวต ๑.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More