ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโโยค - คติสมุนปาสิกา อรรถภาพพระวินัยมหาวรรค ตอน ๑ หน้า 102
ไม่ควรให้อาวาสเหมือนกัน. เหล่าหญิงซึ่งเป็นไท แต่ไม่มีใครคุ้มห้าม
จึงเที่ยวไปกับพวกนางวัฒนาสี จะให้ดูชำหลายของหญิงเหล่านั้น
บวชก็ควร. หากพาหญิงเหล่านั้นขึ้นทะเบียนเสร็จแล้ว. ไม่สมควรให้
บวชทั้งหลายของหญิงเหล่านั้นบวช ถึงพวกทากของคณะทั้งหลาย
มีคณะภักติปุตตะเป็นต้น ซึ่งคณะขันเหล่านั้นไม่ยอมให้สิ่งใดไม่ควรให้
บวช. ขึ้นชื่อว่าทาสสำหรับอาราม ซึ่งพระราชพระราชทานไว้ใน
วัดทั้งหลาย บรรดามี. จะให้ทาสเหล่านั้นบวช ย่อมไม่สมควร
แต่ช่วยให้เป็นไทแล้วให้บวช สมควรอยู่. ในทางจริยธรรมถา
แกว่า "ชนทั้งหลายตำทาสเกิดภายในและภายนาทช่วยมาด้วยทรัพย์
มาด้วยแก้ภิกษุสูงกว่า 'ข้าเจ้าถวายอารามภิกษาด้วยทรัพย์นั้น
ย่อมเป็นเช่นกบฏทาสที่เราราดเปรียบเทียบระหว่างนั้นแหละ จะให้บวช
ก็ควร." ส่วนอารามกทุกกรุณาก็แกว่า "นายถวายด้วยปิโยวัตรว่า
'ข้าเจ้าทั้งหลายถวายอารามภิกษาทาสนั้น อันเขาถวายแล้วด้วย
โวหารอย่างใดอย่างหนึ่งก็ดามี ไม่มีควรให้บวชแท้" [๒๘] พวก
คนเชื่อใจ คิดว่า "อัศจรรย์พระสมเด็จอิฐ" ซึ่งเป็นปิยปรก
อยู่ในวัดที่อยู่ จะให้เจิมใจเหล่านั้นบวช ควรอยู่. มิฉนั้นราคา
ของบุตรใดเป็นทาส. หรือกรมราคาเน้นเป็นทาส. บิดาไม่เป็น
ทาส, ไม่ควรให้อรุณนั้นบวช ญาติหรืออุปฐากของภิฤทธิอาจกล่าวว่า
"ของท่านจงให้บวชชินบวช เขาจักทำความบวยาแก่ท่าน" หรือ
ว่า ทาสส่วนตัวของกิคุณนั้นมีอยู่ ท่านก็ทิศจทำให้เป็นไทเสื่อก่อน
แล้วจึงควรให้บวช. ในอรรถกฤดูนก็แกว่า "พวกนายถวายทาสว่า