คติสุขัปปาสำหรับกิ ทรรศนะพระวินัยมหาวรรค ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 1 หน้า 215
หน้าที่ 215 / 233

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการประกอบพิธีการในพระวินัยมหาวรรค โดยมีการเน้นบทบาทของพระสังฆเถระและภิกษุในพิธี และข้อควรปฏิบัติในกรณีที่มีการฉวดเกิดขึ้น การตั้งใจในการปฏิบัติและคำอธิบายในการตอบคำถามในโอกาสต่างๆ รวมถึงข้อควรระวังในการสั่งงานและการให้โอกาสในการตอบของพระเถร.

หัวข้อประเด็น

-บทบาทของพระสังฆเถระ
-การอัญเชิญในพิธี
-แนวทางปฏิบัติของภิกษุ
-ข้อควรระวังในการให้คำตอบ
-การฉวดในพระวินัย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - คติสุขัปปาสำหรับกิ ทรรศนะพระวินัยมหาวรรค ตอน ๑ - หน้าที่ 208 ฝ่ายพระเทสะ ผู้ซึ่งบนอาสนะสูงกว่า ย่อมไม่ได้เพื่อ อัญเชิญ ถ้าพระสังฆเถระเป็นอุปฺมงคล และพระธรรมกถึกเป็นสัทธิ- วิหาริก และพระอุปชาเขนังบนอาสนะสูง สังฆาธิการนั้นว่า "เธอองค์ฉวด." พี่ดังใจสายายแล้วฉวดเกิด แต่ถ้าในสำนักอุปฺมงคลนี้ มีภิกษุหนุ่มมาก พึงตั้งใจว่า "เราสวดเก่งกิณฑนั้น" แล้วฉวดเกิด. [๑๔๙] ถ้าพระสังฆเถระในวัดที่อยู่ให้ฉวดแต่เป็นสิทธิของตนเท่านั้น, ไม่อัญเชิญกิณฑุสิ่งอื่นที่สวดไปเพราะบาง ภิกษุเหล่านั้นพึงเรียนท่าน ว่า "ท่านผู้เจริญ พวกผมขอให้ภิกษูนี้ฉวด." ถ้าท่าน ตอบว่า "ฉวดเกิด" หรือท่านนั่งเสีย, สมควรให้ฉวดได้ แต่ ถ่านำห้าม, ไม่ควรให้ฉวด. หากว่า เริ่ม ธรรมสวนะ แต่เมื่อพระสังฆเถรยามได้มา เมื่อ ท่านนวดกลางคืน กิจที่จะต้องหยุดจอโอกาส ไม่มี. องค์นี้ เมื่อฉวดแล้วจะอธิบายเนื้อความ พึงขอโอกาสนาทแล้ว จึงอธิบายก็ได้. ไม่หยุดเลยอธิบายทีเดียวก็ได้ แต่ในพระสังฆเถระ ผู้มากลางคืน เมื่ออภิ lig บายก็มียืนเหมือนกัน ถึงในอุปนิสานกถา พระสังฆเถรจึงเป็นเจ้าของ,เพราะฉะนั้น พระสังฆเถรนั่นพึงกล่าว เอง, หรือสั่งกิณฑว่า "เธอองค์ฉวด," ก็แพพระสังฆเถรนั่งสูงกว่า ไม่ควรสั่ง. แต่ว่าจั่งแกมมนุษย์ทั้งหลายว่า "ท่านจงกล่าว" ควรอยู่ ชนทั้งหลายถามภูษุดำ, ภิกษุนั้นพึงขออโอกาสพระเทรตก่อนจึง ค่อยตอบ. ถ้าพระเถรได้รับตอบว่า "ท่านผู้เจริญ ชนเหล่านี้ถามปัญหา กะผม" ดังนี้แล้ว สั่งว่า "ตอบฉวด" ก็ดี, นั่งเสียดดี, จะตอบก็ควร.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More