คติสมันต์ปาฐิ สภาพักกิรา อรรถาภพระวินัย มหาวรรค ตอน ๑ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 1 หน้า 198
หน้าที่ 198 / 233

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงหลักการและแนวทางการปฏิบัติของภิกษุในพระวินัย โดยเน้นความสำคัญของการทำอุโบสถและการถ่ายทอดคติผ่านกรรมวาจา รวมถึงการกำหนดนิมิตต่างๆ ที่ใช้ในพระพุทธศาสนาเพื่อช่วยให้ผู้ปฏิบัติได้เข้าใจและปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง โดยเฉพาะการใช้อาวาสอย่างเหมาะสมให้เกิดประโยชน์สูงสุดในทางธรรม,สามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-หลักการปฏิบัติของภิกษุ
-ความสำคัญของอุโบสถ
-การกำหนดนิมิตอันมีประโยชน์
-การศึกษาศีลและพระวินัย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - คติสมันต์ปาฐิ สภาพักกิรา อรรถาภพระวินัย มหาวรรค ตอน ๑ หน้า 191 สองบกว่า เอก สมุนฺติวา ได้แก้ ถอดเสียด้วยกรรมวาจา ข้อความ ยโต ปฏิญญา สุขาติ มีความว่า ภิกษุนี้ใน หัตถาของภิกษุทั้งหลายพาข้ามภิกษ์อยู่ เพราะเหตุใด เพราะเหตุนัน อุโบสถเป็นอันเธอกระทำแล้วแท้ ก็ว่ากว่า ยโต ปฏิญญา สุขาติ นี้ พระผู้มพระภาคตรัส ไว้ เนื่องกับเรื่อง ถึงเมื่อภิกษุนี้แล้วในหัตถบาส แมไม่ฟังโอปาส ก็เป็นอันทำแล้ว ข้อความ นิมิตตุ กิตฺเตตุปฺพา มีความว่า จะกำหนดนิมิต ชนิดใดชนิดหนึ่ ง มีสิลา อติ โทนไม่และหลักเป็นต้น เล็กกิสีด ใหญ่กิสีด ทำให้เป็นเครื่องหมายแห่งหน้ามุขโอปาส ไวกลางแจ้งหรือ ในที่ใดที่หนึ่ง มีโรงกลมเป็นต้น ย่อมครก อีกอย่างหนึ่ง ข้อว่า นิมิตตุ กิตฺเตตุปฺพา มีความว่า พิง กำหนดวัตถุหลายที่ใช้เป็นนิมิตได้ก็ดตาม ที่ใช้เป็นนิมิตไม่ได้ ก็ตาม เป็นนิมิตเพื่อร่านคำนหมาย ในข้อว่า เรกฺขวิน ยกุณี ปรมตร สุนุปติฏฺฐิ นี้ มิวิจฉัย ว่า หากว่า พระมหาเถรไม่มาก่อน ท่านก็ต้องทุกข์ ในข้อว่า สุมพเทวา เอกุญ ศุนุปติฏฺฐิ อุโปโล กถความ นี้ มีวิตฉินฉว่า ถ้าอาวาสเก่า มืออาทำกลางวัดที่อยู๋ และในอาวาสกาสนี้ มีที่นั่งพอเกริกอิฐทั้งหลาย ฟังประชมัผันทำ อุโปโลในอาวาสนี้ฯ ถ้าอาวาสเก่า ทังทรุดโทรมทั้งคับแคบ อาวาส อื่นที่สร้างที่หลังไม่คับแคบ; พิงทำอุโปโลในอาวาสนี้นั่น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More