พระธรรมปิฎก ภาค 6 – หน้าที่ 15 พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 17
หน้าที่ 17 / 297

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้กล่าวถึงความฟุ้งซ่านในจิตใจของภิกษุ และการสนทนากับพระศาสดาเกี่ยวกับการทำสมาธิและผลกระทบที่เกี่ยวกับการสอนธรรมะ พระศาสดาตรัสว่า ภิกษุที่ทำอันตรายต้องรับรู้ความผิดนั้น ซึ่งแสดงถึงการรับผิดชอบในการสอนและการฝึกปฏิบัติอยู่เสมอ การทำดีจึงต้องมีพื้นฐานจากการตระหนักรู้ในตนเองและความเกี่ยวข้องกับผู้อื่น

หัวข้อประเด็น

-ความฟุ้งซ่านในใจ
-การทำสมาธิของภิกษุ
-การสอนธรรมะของพระศาสดา
-การตระหนักรู้ในความผิด
-บทเรียนจากการสนทนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธรรมปิฎกถูกแปล ภาค 6 – หน้าที่ 15 ในใจได้. จิตได้ถึงความฟุ้งซ่านแล้ว ภิกษุเหล่านั้น ปรึกษาว่า "อาจารย์ของพวกเรา ปราถความเพียรเหลือเกิน พวกเราก็อดยิ้มทนาม" เมื่อคอยจับอยู่ เห็นก็ชิญาของพระเกษะนั้นแล้ว จึงกล่าวว่า "ผู้มีอายุหลาย พวกเรายิ้มมายแล้ว, อาจารย์ของพวกเรา ยอมน้องเปล่า ๆ" บรรดากิญญะเหล่านั้น ลำบากอยู่เหลือเกิน ภิกษุแม้รูปหนึ่ง ไม่สามารถจะยังคุณวิสุทธิเหล่านี้ ให้บำเพ็ญกุศลได้ในเกิดได้. ภิกษุเหล่านั้น ออกพรรษาแล้ว ไปสำนักของพระศาสดา มีปฏิสนธิอันพระศาสดาทรงทำแล้ว ตรัสมาว่า "ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอเป็นผู้ไม่ปะมาท ทำสมาธิธรรมะหรือ?" จึงกราบทูลความนั้น. [เรื่องใกล้ๆนี้มิเป็นเวลา] พระศาสดาตรัสว่า "ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุนี้ได้ทำอันตรายแก่พวกเธอ ไม่ใช่ในตอนนี้เท่านั้น, แต่ในกาลก่อน ภิกษุนี้ก็ได้ทำอันตรายแก่พวกเธอเหมือนกัน" อันภิกษุเหล่านี้ ทูลอ้อนวอนแล้ว จึงทรงอังคารวกกุฏิชาดให้พิสดาร (ความอ่อ) ว่า:-""ไถ่ตัวนี้ เติบโตแล้วในสำนักของผู้ไม่มาสรอคอยและบิดา อยู่ในสกุลแห่งผู้ไม่อาจอาจ รัง จึงไม่รู้จักกาล หรือมีใช่กาล"" ดังนี้แล้ว ตรัสว่า "ภิกษุทั้งหลาย อันธรรมกิยูเมื่อกล่าวสอนคนอื่น พึงทำตนให้เป็นอนามรบดีแล้ว, เพราะบุคคล เมื่กล่าวสอนอย่างนั้น เป็นผู้ทำดีแล้ว ชื่ออายผี่ได้" แล้วตรัส ๑. ข. ชา. เอก. ๒๗/๒๔. ตกฎฏกถา. ๒/๒๐๒
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More