พระภิรมย์ทัศน์ฉบับแปล ภาค ๖ - ท้าวสักกะ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 209
หน้าที่ 209 / 297

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้ พระศาสดาได้ทรงจำเริญพระสัมมาสัมโพธิญาณในขณะประทับอยู่ที่ทุคคาม และมีการสนทนาผ่านท้าวสักกะเกี่ยวกับความสำคัญของการบำรุงพระองค์ พระศาสดาได้ชี้ให้เห็นว่าความมนุษย์ของท้าวสักกะมีผลต่อพวกวิญญาณ ผู้มีศีล และการบำรุงพระองค์จะช่วยให้เกิดผลดีในอนาคต ท้าวสักกะได้มากราบทูลพระองค์เพื่อแสดงความเคารพและความตั้งใจในการทำความดี นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงลักษณะของกลิ่นมนุษย์ที่ปรากฏต่อทวดในระดับสูงและยากต่อการเข้าถึง ดำเนินต่อไปด้วยการเดินทางเพื่อสนองพระองค์ด้วยความเคารพ.

หัวข้อประเด็น

-ท้าวสักกะ
-พระศาสดา
-พระภิรมย์ทัศน์
-อ้างอิงในศาสนา
-การบำรุงพระศาสดา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระภิรมย์ทัศน์ฉบับแปล ภาค ๖ - หน้าที่ 207 ๒. เรื่องท้าวสักกะ * [๖๑๔] [ข้อความเบื้องต้น] พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในทุคคาม ทรงปรารภท้าวสักกะ ตรัสพระธรรมเท่านั้นว่า " สานุ ทูลสันต์ " เป็นต้น ความผิดฐานว่า ท้าวสักกเทวราช ทรงทราบความที่พระ- อาพาธ มึนเมาแล่นไปแห่งพระโลหิตเป็นสมุฏฐาน เกิดขึ้นแล้วแก่ พระกายาด ในเมื่อพระองค์ทรงปลดอายุสังขารแล้ว ทรงดำริว่า " การที่เราไปสำนักของพระศาสดาแล้ว ทำโลภปฏิบายย่อมควร " ทรงละอัตภาพประมาณ ๑ คาวุตเสีย เข้าไปฝ่าพระศาสดาอวยบังคม แล้ว ทรงนวดพระบาทด้วยพระหัตถ์ทั้ง ๒ ครั้งนั้น พระศาสดา ตรัสละท้าวสักกะนั้นว่า " นันใคร ? " ท้าวสักกะ: ข้าพระองค์ คือท้าวสักกะ พระเจ้าข้า พระศาสดา: ท่านมาทำไม ? ท้าวสักกะ: มาเพื่อบำรุงพระองค์ผู้เป็นครู พระเจ้าข้า. พระศาสดา: ท้าวสักกะ กลิ่นมนุษย์ ย่อมปรากฏแก่ทวด ทั้งหลาย เหมือนกาฝากที่ผู้ไว้ ดั้งแต่ ๑๐๐ โยชนขึ้นไป ท่าน จงไปเกิด ภคูผู้กลานปฏิรูปาของเรา. ท้าวสักกะกราบทูลว่า " ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ แม้ข้าพระองค์ ดำรงอยู่ในที่สุดแห่ง ๙ หมื่น ๔ พันโยชน์ สุดกลิ่นแห่งศิลาของพระองค์ " * พระมหาเนื่อง ป.ธ. ๖ วัดราชประดิษฐ์ฯ แปล. ๑. อาศุลพระโลหิต.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More