บทเรียนเกี่ยวกับความหวังและพระนิพพาน พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 199
หน้าที่ 199 / 297

สรุปเนื้อหา

พระศาสดาได้ตรัสถึงความหวังว่าเป็นโรคที่ทำให้ผู้คนทุกข์ทรมานมากกว่ารูปแบบอื่น ๆ โดยได้เปรียบเทียบว่าสิ่งนี้ต้องการการรักษาตลอดไป เขากล่าวถึงความสำคัญของความรู้และความเข้าใจต่อธรรมแล้วสอนให้คนบรรลุถึงพระนิพพาน ซึ่งเป็นสุขที่ยิ่งใหญ่ ความหวังจึงถูกจัดให้อยู่ในสถานะที่เหนือกว่าโรคอื่น ๆ เพราะมันเป็นต้นตอของความทุกข์ที่ยั่งยืน และการเข้าใจธรรมของบัณฑิตจะช่วยให้เห็นความจริงนี้อย่างครบถ้วนและสามารถนำไปสู่ความสุขที่แท้จริงได้

หัวข้อประเด็น

-ความหวังและโรค
-พระนิพพาน
-การรักษาความหวัง
-ธรรมะของพระศาสดา
-ปัญญาและความรู้

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระบิณฑบาตฉบับแปล ภาค ๖ หน้า ที่ 197 อัศยมนุษย์คนหนึ่ง รับสั่งให้คนจัดแจงข้าวจะดูเป็นต้นให้แล้ว." พระศาสดาเสด็จกลับบัประทับอยู่แล้วเทียว ตรัสถามว่า "ภิญญ์ ทั้งหลาย พากเธอพูดอะไรบ? " ทรงศับเนื้อความนั้นแล้ว ตรัสว่า "ภิญญ์ อย่างนั้น ภิญญ์ทั้งหลาย, เราคิดว่า " เรา เมื่อมาสั้นทางกันดาร ๓๐ โโยชน์ เห็นอุปโนสัยของอุปาสนั้นแล้วจึงมา, อุปาสนั้นหิวยิงนัก, ลูกขึ้นแต่เช้าตรู่แล้ว เที่ยวหาโคในป่า, แม่เมื่อเราแสดงธรรม อยู่ ก็ไม่อาจบรรลุได้ เพราะความทุกข์อันแต่ความหวัง, จึง ได้กระทำอย่างนี้; ภิญญ์ทั้งหลาย ด้วยว่า ชื่อว่าโรค เช่นกับโรค คือความหวังไม่มี " ดังนี้แล้ว จิรัสสรพระคาถานิว่า:- " ความหวังเป็นโรคอย่างยิ่ง, สังขารทั้งหลายเป็น ทุกอย่างยิ่ง, บัณฑิตตราบใดก็ความนั่นตามความ จริงแล้ว ( กระทำให้แจ้งดังพระนิพพาน ) เพราะ พระนิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง." [ แก่กรรจ์ ] บรรดาบทหล่านั้น บทพระคาถาว่า ชิณฉุตา ปรม โรกา ความว่า เพราะโรคอย่างอื่น รักษากรรมเดียวก็หาย หรือว่านบุคคล ยอมบำบัดได้ ด้วยความสามารถแห่งงั้น ๆ ( คือเป็นครั้งคราว ) , ส่วนความหวัง ต้องรักษากันสิ้นกาลเป็นนิตย์ที่เดียว เหตุนัน ความหวัง นี้ จึงจัดเป็นเยี่ยมกว่าโรคที่เหลือ. บั้น ๕ ช่อว่า สังขารทั้งหลาย. สองบว่า เอ็ด ดุฏฏา ความ ว่า บัณฑิต ทราบเนื้อความนั้นตามเป็นจริงว่า " โรคเสมอด้วยความ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More