พระบิฐปฐและปฏิหารย์ในพระพุทธศาสนา พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 128
หน้าที่ 128 / 297

สรุปเนื้อหา

พระบิฐปฐแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างท่อไฟกับสายฟ้า โดยมีพระศาสดาทรงทำปฏิหารย์และแสดงธรรมแก่มหาชนอย่างมีพลัง พระมหาชนได้แสดงความศรัทธาและรับรู้ถึงอภิญญา ๑๖ อย่างของพระองค์ ธรรมกัลยมัยเกิดขึ้นในใจของคนที่ศรัทธา เป็นการให้ความโล่งใจและมีความเข้าใจในพระธรรม.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของพระบิฐปฐ
-การแสดงปฏิหารย์ของพระพุทธเจ้า
-ผลกระทบของการแสดงธรรมต่อมหาชน
-ความสัมพันธ์ระหว่างธรรมและความเชื่อ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระบิฐปฐถูกฉายแปล ภาค ๖ หน้า ๑๒๖ อุปมภายโต" นัยในบททั้งปวงก็เช่นกัน. คือในบทปฏิหารนี้ ท่อไฟ มได้เจ上一กับสายน้ำเลย, อันสายทน้ำก็ได้เจือด้วยท่อไฟ, ก็เนื่องว่า ท่อไฟและสาย น้ำทั้ง นี้ พุงขึ้นไปลดดึงพรมโลกแล้วก็ไหลลาม ไปที่ขอปากกวาารพ. ก็เพราะเหตุที่พระสาริทธโตรกกล่าวไว้ว่า " ฉนุน วุฒญาณ" พระรัฐมีพรธาระ ๖ ประการของพระศาคคนนั้น พลุ่งขึ้นไปจากห้องแห่งจักรวารหนึ่ง จุดทองคำวั่งซึ่งกำลังไหลออก จากบ่า และจุดนำ้แห่งหองคำที่ไหลออกจากทะนานนต์ ดน พรหมโลกแล้วก็ท้อนกลับมาดงบปากอัฐิราวาผลามดอม. ห้องแห่ง จักรวารหนึ่ง ได้เป็นดูเรือนต้นโพธิ์ที่รังุไร้วัลซัลออกอนันด มี แสงสว่างเป็นอันเดียวกัน. ในวันนั้น พระศาสดาเศรัจจกรมทรงทำ ( ยมก ) ปฏิหาริย์ แสดงธรรมกาลแก่มหาชนในระหว่าง ฯลฯ, และเมื่อทรงแสดงไมทรงทำ มหาชนให้หนากใจ. ประทานให้บาใจจิ บในขณะนั้น มหาชนยังสาธุการ ให้เป็นไปแล้ว. ในเวลาที่สาธุการของมหาชนนันเป็นไป, พระศาสดา ทรงตรวจอุดิฏของบริษัทซึ่งใหญ่ถึงเพียงนั้น ได้ทรงบาวจิตของ คนหนึ่ง ๆ ด้วยอำนาจอารม ๑๖ อย่าง. จิตของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย เป็นไปเร็วอย่างนี้. บุคคลใด ๆ เลื่อมในธรรมใด และในปฏิหารย์ ใด, พระศาสดาทรงแสดงธรรม และได้ทรงทำปฏิหารย์ด้วยอำนาจ อัชชัยยติแห่งบุคคลนั้น ๆ, เมื่อพระองค์ทรงแสดงธรรม และทรงทำ ปฏิหารย์ด้วยอำนาจอย่างนี้ ธรรมกัลยมัยได้แก่มหาชนแล้ว. ก็ ๑. นิรุตสาส์น ให้มีความโล่งใจออกแล้ว.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More