พระธัมปกีฏาฯ : การประพฤติธรรมเพื่อความสุข พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 53
หน้าที่ 53 / 297

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงหลักธรรมในพระธัมปกีฏาฯ ที่ชี้ให้เห็นความสำคัญของการประพฤติธรรมอย่างแท้จริง โดยระบุว่าบุคคลที่มีการประพฤติธรรมจะพบความสุขในทั้งโลกนี้และโลกหน้า โดยเน้นถึงการไม่ประมาทในการทำความดี และการตั้งอยู่ในการทำบุญอย่างมีระเบียบอย่างขึ้นกับโลกอนาคต. นอกจากนี้ยังระบุถึงการทำความดีที่สืบเนื่องจากความเป็นปกติ ซึ่งจะนำมาซึ่งความสุขและการอยู่ร่วมกันอย่างharmonious ในสังคม ทั้งนี้นำสู่การสร้างอนาคตที่ดีขึ้นสำหรับทุกคนในสังคม.

หัวข้อประเด็น

-พระธัมปกีฏาฯ
-การประพฤติธรรม
-ความสุขในโลกนี้และอนาคต
-การทำบุญอย่างมีระเบียบ
-การไม่ประมาทในการทำความดี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธัมปกีฏาฯถูกกล่าวแปล ภาค ๖ หน้า ๑๕๑ องค์, แต่นั้นเป็นวงศ์ของอาตมาภาพ; เพราะพระพุทธเจ้าไม่ใช่ภาพหนึ่ง เสด็จเทียวไปเพื่ออนาคตแล้วเป็นอยู่เหมือนกัน" ดังนี้แล้ว เมือ จะทรงแสดงธรรม ได้จากพระธากาเหล่านี้ว่า:- "บรรพติไม่มีพึงประมาทก่อนข้าว อนาคตพึง ลูกขึ้นยืนรับ, บุคคลพึงประพฤติธรรมให้ถูกจริง, ผู้มีปกติประพฤติธรรม ย่อมอยู่เป็นสุขในโลกนี้ และโลกหน้า, บุคคลพึงประพฤติธรรมให้ถูกจริง, ไม่ฟังประพฤติธรรมนันให้ทุธ, ผู้มีปกติประ พฤติธรรม ย่อมอยู่เป็นสุขในโลกนี้และโลกหน้า." [แก้อรรถ] บรรดาบทบทนั้นนับว่า ออกดูอธิษฐานว่า ในก้อนข้าว อันตามพึงขึ้นยืนรับที่พระตรูเรือนของชนเหล่านี้น. บทว่า นุป- มุขยูย ความว่า ก็ถูกเมือให้ธรรมเนียมของผู้เทียวไปบิณฑบาต เป็นปกติสืบแล้ว แสงหาโกนชนประณีต ชื่อว่าของประมาท ในก้อนข้าวอันพึงขึ้นยืนรับ, แน่แล้วเมื่อเทียวไปตามลำดับดรอก เพื่อบิณฑบาตชื่อว่าอัปมาท. ทำอยู่อย่างนี้ ชื่อว่าไม่พึงประมาท ในก้อนข้าวที่คนลูกขึ้นยืนรับ. บทว่า มุข์ ความว่า เมื่ออาทิตย์อาสงหาคืนไม่ควรแล้วเที่ยว ไปตามลำดับดรอก ชื่อว่าพึงประพฤติธรรม คือการเที่ยวไปเพื่อเกียร นั้นนั่นแลให้เป็นสุขวร. คำว่า สุข สเต นั้น สว่าเป็นเทนคา อธิบายว่า เมื่อประพฤติธรรมคือการเที่ยวไปเพื่ออธิษฐาน ชื่อว่าประ-
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More