พระธรรมปิฎกฉบับแปล ภาค ๖ - หน้า ๒๐๕ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 207
หน้าที่ 207 / 297

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้พระศาสดาตรัสถึงความสำคัญของการบูชาและการปฏิบัติธรรมที่แท้จริง โดยเน้นให้เห็นว่าความรักในพระองค์นั้นจำเป็นต้องมีการปฏิบัติธรรมที่เหมาะสมมากกว่าการทำการบูชาเพียงภายนอก พระคาถายังชี้ให้เห็นถึงความสงบและความไม่มีบาปของผู้ที่ปฏิบัติธรรมได้อย่างลึกซึ้ง โดยเฉพาะผู้ที่ดื่มด่ำในรสพระนิพพานและนำไปสู่ความเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของการปฏิบัติธรรม
-การบูชาในความหมายที่แท้จริง
-รสพระนิพพาน
-ความสุขจากการปฏิบัติธรรม
-การไม่มีบาปและความสงบในชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโคด - พระธรรมปิฎกฉบับแปล ภาค ๖ - หน้า ๒๐๕ พระองค์ผู้เจริญ พระดิศสะเภระ ไม่มีความรักในพระองค์." พระ- ศาสดา รับส่งให้ท่านมาบแล้ว ตรัสถามว่า "ดิสิสะ เหตุไร? เธอ ถึงทำอย่างนี้," เมื่อท่านกราบถวายอภิวาทของตนแล้ว ประทับ สาธุการว่า "ดีละ ดีละ" แล้วก็ว่า "ภิกษุทั้งหลาย ผู้มี ความรักในเรา จงเป็นเหมือนดิสะสะเกิด; แม้นคนจะทำการบูชาอยู่ ด้วยของหอมและระเบียบคอไม้เป็นต้น ไม่ชื่อว่าบูชาเรเลย, แต่ คนผู้ปฏิบัติธรรมควรแก่ธรรมนันหนอและ ชื่อว่าบูชาเรา" แล้วรัสด พระคาถานี้ว่า:- " บุคคลดีรมสันเกิดแต่รวาว และรสพระ- นิพพานเป็นที่เข้าไปลงง ดื่มรสปีติอันเกิดแต่ ธรรม ย่อมเป็นผู้ไม่มีความกระวนกระวาย ไมมี่ บาป." [ แก้วรถ ] บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปัจฉริสะ ความว่า ซึ่งรสอันเกิด แล้วแต่วิโกษา ช่งความสุขอันเกิดแต่ความเป็นผู้เดียว. บทว่า ปิติวา ความว่า ดื่มแล้วด้วยความสามารถแห่งอันเป็นผู้ ทำกิจอันกกนดนรผู้ทุกข์เป็นต้น ทำให้แจ้งโดยความเป็นอารมณ์. บทพระคาถาว่า รัส อุปสมุสรฯ ความว่า ดื่มแล้วซึ่งรส แห่งพระนิพพาน อันเป็นที่เข้าไปลงบิณฑบัจจคือ. สองบทว่า นิทกโร โหติ ความว่า ภิกษุผิวฺฉานสาฯ ชื่อว่า เป็นผู้ไม่มีความกระวนกระวาย และไม่มีบาป เพราะความไม่มีความ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More