ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - พระฐัมมปุัจฉาแปล ภาค 6 หน้า 47
สาวทั้งหลายของเราให้เป็นผู้มีศีมะขาด ด้วยเหตุว่ามีอันตัดแล้วเป็นต้นนั้นแล ควรหรือ ? " ภิกษุหนุ่ม ลูกฉันประคองอัญชลี ในทำนันนั้นแล กล่าวว่า " พระเจ้าข้า พระองค์ตรัสเมื่อทรงทราบปัญหานั้นด้วยดี อุปาชยของพระองค์และมาหลาบสิกา ย่อมไม่ทราบด้วยดี." พระศาสดา ทรงทราบความที่พระองค์เป็นผู้อุปถัมภกุแกภิกษาหนุ่มแล้ว ครั้นว่า "ชื่อว่าความเป็นคือหัวเราะปรภวาม-คุณเป็นธรรมอันเลว องค์การเสพธรรมที่ชื่อว่า และการอยู่ร่วมกับความประมาทอันไม่ควร" จึงตรัสพระคาถานี้ว่า:-
" บุคคลไม่พึงเสพธรรมอันเลว, ไม่พึงอยู่ร่วมด้วยความประมาณ, ไม่พึงเสพความเห็นผิด, ไม่พึงเป็นครอบโลก. "
[ แก่ภรถ ]
บรรดาบาหล่านั้น สองท่านนี้ นั้นิน ชมพู ได้แก่อรรถคือ เบญจความคุณ แท้จริง ธรรมคือเบญจความคุณนั้น อันชนแล้ว โดย ที่สุดเมื่อละโสดันั่น พึงเสพธรรมเป็นธรรมอันเลว ย่อมให้สัตว์ผงบริเกิดในฐานะทั้งหลายมินราก็เป็นอันต้นเอง เพราะเหตุ นั้น ธรรมคือเบญจความคุณนั้น จึงชื่อว่าเป็นธรรมแล้ว; บุคคลไม่ พึงเสพธรรมอันเลว นั้น. บทว่า ปมาณทน ความว่า ไม่พึงอยู่ร่วมเมื่อละความประมาณ มันปล่อยสติเป็นลักษณะ. บทว่า น เสวย ได้ก็ไม่พึงถือความเห็นผิด. บทว่า โลกาวุฒิโน