พระธัมม์ทัศน์ฉบับแปล ภาค ๖ - หน้า ๒๕๗ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 259
หน้าที่ 259 / 297

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้กล่าวถึงการสำรวจและทำความเข้าใจเกี่ยวกับความโกรธและลักษณะของบุคคลที่มีต่ออารมณ์ตนเอง ผ่านบทสนทนาเกี่ยวกับเทพาและวิญญาณของเขา รวมถึงคำสอนของพระศาสดาที่มีต่อสาระสำคัญในการจัดการอารมณ์และการอยู่อย่างมีสติในพระพุทธศาสนา. ปรัชญาที่สอดแทรกในบทพูดนี้ช่วยกระตุ้นให้มีการสำนึกในการเป็นผู้มีสติและมีความสงบในใจ.

หัวข้อประเด็น

-บทสำคัญในพระพุทธศาสนา
-การจัดการอารมณ์และความโกรธ
-พุทธธรรมและการตระหนักรู้
-ความเชื่อและวิญญาณในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธัมม์ทัศน์ฉบับแปล ภาค ๖ - หน้า ๒๕๗ ฉันใด; บุคคลใด พึงสกัด คืออาจมีความโกรธที่เกิดขึ้นไว้ได้ ก็ ฉันนั้น บทว่า ตมฺห์ ความว่า เราขอญุคนั้นว่าสุรธึ สองงนว่า อติธิโ ชโน ความว่า ส่วนชนอกคือสารธึ ของอิสระนมีพระราชาและอุปราชเป็นต้น ย่อมชื่อว่าเป็นเพียงผู้ถือ เชื่อหาใช่สารธึชั้นเยี่ยมไม่ ในกาลอบเทนามา เทพาดำรงอยู่ในโสดาภิตผล เทศนา ได้มีประโยชน์แม้บริษัทที่ประชุมกันแล้ว ดังนี้แหละ ฝ่ายเทวา แม้เป็นพระโสดาบัน ก็ยังยืนร้องไห้อยู่ ครั้งนั้น พระศาสตดา ตรัสถามเธอว่า " ทำไมรือ เทพาดา?" เมือเทพาดา ทูลว่า "พระเจ้าข้า วิญญาณของข้าพระองค์ ฉันหยเสียแล้ว บัดนี้ ข้าพระองค์ก็ทำอย่างไร?" จึงตรัสว่า " อย่ายน เทพา, ท่านอย่ คิด, เราจักให้บริเท่านแก่ท่าน" แล้วทรงสื้นไม่ดับหนึ่ง ซึ่งเทพาดาจูติ ไปเมื่อวานก่อน ใกล้กับพระคันธกูฎ ในพระเชตวัน ตรัสว่า " ต้นไม้ โมันในโอกาสโบว้าง เผยองเข้าสิต ณ ต้นไม้นิ่นเดียว." เทพาดาเข้าถิ่นที่ต้นไม้นั้นแล้ว ตั้งแต่นั้น แม่เทพคำทรงศักดิ์ใหญ่ ทราบว่า " วิญญาณของเทพดานั้น อันพระพุทธเจ้าประทาน " ก็ไม่อาจทำให้วานนั้นวันไหวได้ พระศาสดา ทรงทำเรื่องนั้นให้เป็นเหตุเกิดขึ้นแล้ว ทรงบัญญัติ ดูดคามสิงขาแก้วิกษุหลาย ดังนี้แหละ เรื่องก็หยูปใครรูปนั้น จบ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More