ความสำคัญของต้นมะม่วงในพระธรรม พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 118
หน้าที่ 118 / 297

สรุปเนื้อหา

ในพระธรรมปิฎกฐ์ฉัตรทองแปล ภาค ๖ มีเนื้อหาเกี่ยวกับต้นมะม่วงที่มีความสำคัญในสมัยนั้น ถูกพระราชาให้เอาใจใส่และห้ามไม่ให้ตัดต้นมะม่วงที่มีผลงอกงามดี โดยพระราชาได้สั่งอรบาทและประกาศว่า มะม่วงนี้ชื่อว่า 'คำตามพฤกษ์' จึงเกิดเป็นเรื่องราวที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับความสำคัญของพืชในระบบนิเวศน์ ผู้ที่ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับพระธรรมจะพบสง่าและความหมายลึกซึ้งเกี่ยวกับการอยู่ร่วมกันในโลกใบนี้.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของพืชในพระธรรม
-ต้นมะม่วงและการอนุรักษ์
-พระราชาและความยุติธรรม
-บทบาทของเทพเจ้าภายในเรื่อง
-สัญลักษณ์ของมะม่วงในวรรณกรรมไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประจักษ์ - พระธรรมปิฎกฐ์ฉัตรทองแปล ภาค ๖ - หน้า ที่ ๑๑๖ ถึง คือ ใน ๔ ทิศ ๆ ละถึง เบื้องบนถึงหนึ่ง ได้มีประมาณถึงละ ๕๐ ศอกเทียว ต้นมะม่วงนั้นสมบูรณ์ด้วยข่องเป็นผล ได้ทรงไว้ซึ่งพวกแห่งมะม่วงสุกรอบในที่แห่งหนึ่ง ในทันใดนั้นน้องเอง พวกกิฐผูมาข้างหลัง มางับฉะผลมะม่วงลูกเหมือนกัน พระราชา ทรงดับว่า " ข่าวว่า ต้นมะม่วงเห็นปานนี้เกิดขึ้น แล้ว " จึงทรงตั้งอรบาทว่าไล้ขึ้นพระดำรัสว่า " ใคร ๆ อย่าตัดต้น มะม่วงนั้น " ก็ว่านะมะม่วงนั้น ปรากฏชื่อว่า " คำตามพฤกษ์ " เพราะความที่นายคณะทะปลูกไว้ แม้พวกแกลงคือนึกผลมะม่วง แล้วพูดว่า " เจ้าพวกเดี๋ยวถอดเอา ย่อ" พวกเจ้ารู้ว่า ' พระสมโคดม จักรพรรดิฤทธิที่โคนคณะตามพฤกษ์ ' จึงสั่งให้ถอดต้นมะม่วงเล็ก ๆ แห่งเกิดในวันนั้นในร่วมในที่โพนหนึ่ง ๆ ต้นมะม่วง นี้ ชื่อว่า คณะตามพะ" แล้วเอาเมล็ดมะม่วงที่เป็นคนประหารพวกเดี๋ยวนี้เหล่านั้น. [ ท้าวสักกะทำลายพิธีของพวกเดี๋ยวนี้ ] ท้าวสักกะทรงสั่งบังคับวาคสารทวรุตรว่า " ท่านจงถอน มณฑปของพวกเดี๋ยวนี้เสือด้วยลม แล้วให้ลม ( หอบไป) ทั้งเสีย บนแผ่นดินที่ทิ้งหยากเยื้อ " เทวฤทธิ์นั้นได้ทำเหมือนอย่างนั้นแล้ว ท้าวสักกะสั่งบังคับอรฤทธิ์ว่า " ท่านจงขยายมณฑลพระอาทิตย์ยัง ( พวกเดี๋ยวนี้ ) ให้ร้อน " แม้เทวฤทธิ์นั้นได้ทำเหมือนอย่างนั้นแล้ว ท้าวสักกะทรงสั่งบังคับสาตาดาสกทพฤกษ์อีกว่า " ท่านจงยงมณฑลแห่งผลม ( ลมหัววัวน ) ให้ตั้งขึ้นไปเกิด " เทวฤทธิ์นั้นทำอยู่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More