พระธรรมปฤทธิฬาที่ถูกฉบับแปล ภาค ๖ - หน้า ๔๖ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 48
หน้าที่ 48 / 297

สรุปเนื้อหา

บทสนทนาระหว่างนางวิสาขาซึ่งไปที่สำนักงานของภิกษุหนุ่ม โดยเธอแสดงความไม่พอใจที่ถูกดูถูกด้วยคำว่า 'ผู้หัวขาด' และภิกษุหนุ่มได้สอบถามเกี่ยวกับความเหมาะสมในการจัดการสถานการณ์นี้ นอกจากนี้ พระเถราได้เข้ามามีบทบาทในการเน้นย้ำความสำคัญของคำพูด ความเข้าใจในเจตนาของบุคคลและการรักษาความสงบในสังคมของพระสงฆ์ที่อยู่ท่ามกลางความท้าทาย

หัวข้อประเด็น

- จริยธรรมในพระพุทธศาสนา
- การสนทนาระหว่างพระและฆราวาส
- ความสำคัญของการเข้าใจคำพูด
- การรักษาความสงบในสังคมพระสงฆ์
- นางวิสาขาในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโคม - พระธรรมปฤྟิฬาที่ถูกฉบับแปล ภาค ๖ - หน้า ๔๖ กล่าวว่า " นี่อะไร ? แม่" จึงบอกเนื้อความนั้น. นางวิสาขานั้น มาสู่สำนักงานของภิกษุหนุ่มแล้ว พูดว่า " ท่านเจ้าหน้าที่ อย่ากรอกรับแล้ว, คำนั้นเป็นคำไม่หนักนักสำหรับพระผู้เป็นเจ้า ผู้ผิวผันและเล็บอันตัดแล้ว ผู้มีผมผุ่นอันตัดแล้ว ผู้ถือกระเบื้องตัด ณ ท่ามกลาง เที่ยวไปอยู่ เพื่ออภิยา. กิฏุกหนุ่มพูว่า " เอ อุบลิกา, ท่านยอมทราบ ความที่อาตมาเป็นผู้ผิวผันอันตัดแล้วเป็นคน; การที่หลายของท่านนี้ทำ ถามว่า ' ผู้มีหัวขาด' ดังนี้ จักควรหรือ?" นางวิสาขาไม่อาจ เพื่อให้อกหนุ่งน้อมเลย ( ทั้ง) ไม่ได้อาจเพื่อให้นางภารกิจยินยอม. ขณะนั้น พระเถรามาแล้ว ถามว่า " นี่อะไร ? อุบลิกา" พิ้ง ความนั่นแล้ว เมื่อจะกล่าวสอนภิกษุหนุ่ม จึงพูดว่า " ผู้มีอายุเธอ งหลีกไป, หญิงนี้ไม่ใช่คำต่อเธอ ผู้ผมโล้นและผ้าคั่นตัดแล้ว ผู้ถือ กระเบื้องตัดในท่ามกลางเทียวไปอยู่เพื่อภิยา, เธอจงเป็นผู้มีเสื่อ." ภิกษุหนุ่ม อย่างนั้น ขอรับ, ท่านไม่คุกคามอุปัฎฐากของ ตน จากตุ๊กกามกระผมทำไม การที่นางต่ำกระผมว่า ' ผู้หัวขาด' จักควรถรือ? ขณะนั้น พระศาสดา เสด็จมาคร่ำครวญว่า " นี่อะไรนะ?" นางวิสาขาถามตุปลประพฤติเหตุนี้ตั้งแต่ต้น. [ พระศาสดาประทานโอวาทแก่อนักหนุ่ม ] พระศาสดา ทรงเห็นอุปนิสัยแห่งโลคานี้ผลของภิกษุหนุ่ม นั่นแล้ว จึงตรองตำรว่า " เรากล่อมตามภิกษุหนุ่มนี้จะควร" ดังนี้ แล้ว จึงตรัสละนางวิสาขาว่า " วิสาขา ก็ทริกาของท่านดำทำ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More