พระธรรมปิฏกฐบฎแปล ภาค ๖ - การสนทนาของชนสามกลุ่ม พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 217
หน้าที่ 217 / 297

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้พูดถึงความไม่สามารถของชนสามกลุ่มที่แม้มวชนแล้ว ก็ไม่สามารถแก้ปัญหาความขัดแย้งได้ พระศาสดาจึงได้เรียกชมทั้งสาม และชี้ให้เห็นถึงความไม่เพียงพอในการทำให้สัตว์และสงสารเป็นที่รักหรือไม่รัก โดยยกข้อความพระคาถาเกี่ยวกับการทำสิ่งที่ไม่ควรไปอยู่ในสถานที่ที่ไม่สมควร พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับความต้องการที่แท้จริงของมนุษย์.

หัวข้อประเด็น

-การสนทนาในพระพุทธศาสนา
-ความสัมพันธ์ระหว่างชน
-ความไม่เพียงพอในการแก้ปัญหา
-การเห็นและไม่เห็นสัตว์
-พระคาถาเกี่ยวกับการปฏิบัติตน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธรรมปิฏกฐบฎแปล ภาค ๖ หน้าที่ 215 [ ชนทั้ง ๑ แม้มวชนแล้วก็ยังลูกกลิ้ง ] ชนทั้ง ๓ นั้น แม้มวชนแล้ว ก็ไม่อาจจะแก้นอยู่ได้, นั่ง สนทนาร่วมกันเที่ยว ปล่อยวันให้ล่วงไป ทั้งในบริหาร ทั้งในสำนัก ภิกษุมัติ เหตุนี้นั้น ทั้งภูกฤษฎี ทั้งภูภูกฤษฎี จึงเป็นอัญถูกเบียดเบียน แล้ว ต่อมาวันหนึ่ง ภิกษู่หลาย กราบลูกการะทำของชน ทั้ง ๓ นั้น แค่พระศาสดา. [ พระศาสดตรัสเรียกมาเดือน ] พระศาสดารับส่งให้เรียกชมทั้ง ๓ นั้นมาแล้ว ครัศสามว่า "ได้ยินว่า พวกเธอทำอย่างนั้น จริงหรือ?" เมื่อชนเหล่านั้นทูลว่า "จริง (พระเจ้าข้า)," ครัศสามว่า "ทำไม พวกเธอถึงทำ อย่างนั้น ? เพราะว่า นั้นไม่ใช่ความเพียรของพวกบรรพชิต." ชนทั้ง ๓ กราบลูกว่า "พระเจ้าข้า พวกหัวจะคงไม่อาจ จะอยู่แยกกัน." พระศาสดาตรัสว่า "ชื่ออาการทำอย่างนี้ จำเดิม แต่กาลแห่งมนุษย์แล้ว ไม่ควร, เพราะว่า การไม่เห็นสัตว์และ สงสารอันเป็นที่รัก และการเห็นสัตว์และสงสารอันไม่เป็นที่รัก เป็น ทุกข์โดยแท้; เหตุนี้ การทำบรรดาสัตว์และสงสารทั้งหลายอย่างใด อย่างหนึ่ง ให้เป็นที่รัก หรือไม่ให้เป็นที่รัก ย่อมไม่สมควร " ดังนี้ แล้วได้ทรงภาคิตพระคาถาเหล่านี้ว่า :- " บูกค องค์ประกอบในที่อันไม่ควรประ- ถอม และไม่ประกอบในสิ่งอันควรประกอบ"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More