พระธรรมปาฏิหาริย์ ภาค ๖ หน้าที่ ๒๕๒ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 254
หน้าที่ 254 / 297

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายเกี่ยวกับการละความโกรธและการสะสมความดีตามหลักพระธรรม ในส่วนนี้กล่าวถึงการพ้นทุกข์จากความโกรธและสังโยชน์ และนำเสนอคำสอนเกี่ยวกับการไม่ยึดติดในอารมณ์ต่าง ๆ และส่งเสริมแนวทางการหลุดพ้นจากความทุกข์ เป็นการบ่งบอกถึงความสำคัญของการมีจิตที่ไม่ต้องการอะไรในรูปแบบของการยึดติด.

หัวข้อประเด็น

- การละความโกรธ
- การสะสมความดี
- สังโยชน์และการพ้นทุกข์
- หลักธรรมทางพุทธศาสนา
- อิริยผลในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโปคฺ - พระธรรมปาฏิหาริย์ ภาค ๖ - หน้าที่ ๒๕๒ แม่มีประมาณเล็กน้อย ย่อมไม่ควรทำเลย" ดังนี้แล้ว จึงตรัส พระคาถานี้ว่า :- "บุคคลพึงละความโกรธ สะสมความดีตัว, ล่วงลิยชนทั้งสิ้นได้, ทุกทั้งหลายย่อมไม่ ตกต้องบุคคลนั้น ผู้ไม่ขอในนามรูป ไม่มี กิเลสเครื่องกังวล." [ แก่ราถ ] บรรดาบทเหล่านั้น กล่าวว่า โกี๋ ความว่า พึงละความโกรธ ทุก ๆ อาการดี มนะ ๕ อย่างดีดี. บทว่า สังโยชน์ ความว่า พึงล่วงสังโยชน์หมดทั้ง ๑๐ อย่าง มีมานะสังโยชน์เป็นต้น. บทว่า อาสุขาม่า ความว่า ไม่ข้องอยู่. อภัยญ่า คือผูใด ยึดถืออารมณ์รูปโดยย่ำ " รูปของเรา, เวทนาของเรา เป็นต้น และ เมื่อนามรูปนั้นแตกไป ย่อมเศร้าโศก เดือดร้อน; ผู้ชื่อว่าน้องอยู่ ในนามรูป, ส่วนผู้เมื่อก็อย่างนั้น เชื่อว่าย่อมไม่ชี้อง; ขึ้นชื่อว่าจา ทุกข์ทั้งหลาย ย่อมไม่ต้องบุคคลนั้น ผู้ไม่ขออยู่เฉยนั้น ผู้ชื่อ ว่าไม่มีภิกษเครื่องกังวล เพราะไม่มีอะไรเป็นต้น. ในภาคเทศนา ชนเป็นอัมพาก บรรลุอิริยผลหลาย มี โสตาติผลเป็นต้นนั้นเอง. แม้พระนางโรหินี ก็ดำรงอยู่แล้วในโลภัปติผล. สรีระของ พระนางได้มีวรรณะดุจทองคำ ในขณะนั้นเอง. พระนางจุตจาก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More