พระธรรมปิฏกฎอภิวัธ โดยแปล ภาค ๖ - เรื่องภิกษุผู้ไม่นิยมดี พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 160
หน้าที่ 160 / 297

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้พูดถึงกรณีของภิกษุผู้ไม่นิยมดี และการสนทนาเกี่ยวกับการสึกจากบรรพชาของภิกษุหนุ่มที่มีบิดาป่วย ทำให้เขาเกิดความกังวลเกี่ยวกับความเป็นไปและอนาคตของตน ข้อความสะท้อนถึงคติธรรมในการดำเนินชีวิตในศาสนา และความรับผิดชอบต่อครอบครัว โดยมีการยกตัวอย่างการณ์ความเศร้าของบิดาที่ส่วนใหญ่มักจะเข้าใจผิดเกี่ยวกับการปฏิบัติในศาสนา ความสำคัญในการหันกลับไปหาคุณค่าของครอบครัว เช่น การให้ดวงวิญญาณมีความสงบ แม้ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ที่ลำบาก.

หัวข้อประเด็น

-ภิกษุที่ไม่นิยมดี
-การสูญเสียในครอบครัว
-คุณค่าของการบวช
-การดูแลความรู้สึกของบิดา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธรรมปิฏกฎอภิวัธโดยแปล ภาค ๖ - หน้า ๑๕๘ ๕. เรื่องภิกษุผู้ไม่นิยมดี * [๑๔๒] [ข้อความเบื้องต้น] พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปราโมทย์ผู้ไม่นิยมดี (ในพระมหาชรรย์) รูปหนึ่ง คร่าสะอาธรรมเทสนั้นว่า "น กาหาปวดุสาเม" เป็นดังนั้น. [ภิกษุหนุ่มกระสันอยากสึก] ได้ยินว่า ภิกษุนันบรรพชาแล้วในศาสนา ได้อาสนบทแล้ว อันพระอุปชาลส่งไป ด้วยคำว่า "เธอองไปชื่ออันแล้ว เรียนอุทเทส" ได้ไปในที่นี้แล้ว. ครั้งนั้นโรคเกิดขึ้นแก่บิดาของท่าน. เขาเป็นผู้เก่ะได้เห็นบุตร (แต่) ไม่ได้ใคร ๆ ที่สามารถจะเรียกบุตรนั้นมาได้ จึงบ่นพ่ออยู่ เพราะความโศกถึงบุตรนั้นและเป็นผู้มีความตายอันใกล้เข้ามาแล้ว จึงสั่งน้องชาวว่า "เจ้พึงทำทรัพย์นี้ให้เป็นค่าบาตรและจิ๋วรรณ์บุตรของเรา" แล้วให้ทรัพย์ ๓๐๐ กาหาปนะไว้ในมือของน้องชาย ได้ทำกาลแล้ว. ในภาคที่ภิกษุหนุ่มมาแล้ว น้องชายนี้ จึงหมอจอสงเทนท้า ร้องให้ลังก์เกือกไปมา พลางกล่าวว่า "ท่านผู้เจริญ มิดาของท่านทั้งหลาย บ่นอยู่เทียว ทำกาลแล้ว ก็อตนั้นได้บอ กาหาปนะไว้ ๑๐๐ ในมือของผม, ผมจักทำอะไร ? ด้วยทรัพย์นั้น." ภิกษุหนุ่มจึ่งห้ามว่า "เราไม่มีความต้องการด้วยกาหาปนะ" ในภาคต่อมิจึงว่า "ประโยชน์อะไรของเรา ด้วยการเกี่ยวไปเป็นทบาด" * พระมหาสนธิ ป. ช. ๕ ( บัดนี้เป็นพระญาณวโรดม ) วัดบวรนิเวศวิหาร แปล.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More