พระธรรมปฏูษีฉบับแปล ภาค 6 - หน้า 37 พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 39
หน้าที่ 39 / 297

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในพระธรรมปฏูษีฉบับแปลภาค 6 เน้นถึงการมีปัญญาและการเข้าใจธรรมของพระพุทธเจ้า รวมทั้งการแสดงความเคารพต่อคำสอนของพระอริยบุคคล ผู้ที่เข้าใจและปฏิบัติตามจะสามารถหลุดพ้นจากความทุกข์ได้ นอกจากนี้ยังมีการเปรียบเทียบเพื่อสื่อให้เห็นถึงความจริงของการดำเนินชีวิตและการรับผิดชอบต่อคำพูดของตนเอง เรื่องนี้สอดคล้องกับการศึกษาคำสอนในพระพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-ปัญญาและสติปัญญา
-คำสอนของพระพุทธเจ้า
-การดำเนินชีวิตตามธรรม
-ความรับผิดชอบต่อคำพูด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธรรมปฏูษีฉบับแปล ภาค 6 - หน้า 37 "บุคคลใดมีปัญญาโจด อาศัยภูมิขันถว้า ห้ามปรามพวกคนผู้กล่าวอ้างว่า 'จักฟังธรรมก็ดี,' ว่า 'จักถวายทานก็ดี,' เพราะกลัวแต่เสื้อสักกะของตน เชื่อว่าได้บำเพ็ญสั่งสอนของพระอริยบุคคลผู้อรหันต์ มีปฏิสนธิเป็นอยู่โดยธรรม คือพระพุทธเจ้า, การได้แย่งและทิฐิอิ่นอันละลวมนันของบุคคลนั้น ย่อมเป็นเหมือนขวยของไม้หนาม กล่าวคือมิไผ่, เหตุนี้ มิไผ่เมื่อกาย ย่อมตกเพื่อผดตนเท่านั้น ฉันใด; แบ่งบุคคลนั้นก็ถอนเกิดมาเพื่อฉาดฉะ คือว่าเกิดมาเพื่อผลาดตนเอง ฉันนั้น, สมจริง แม้คำาประพันธ์นี้ พระผู้พระภาคก็ได้ตรัสไว้ว่า:- " " ผลนั้นแลวยอมม้าต้นกล้วยเสีย, ผลนั้นแลย่อม่าไม่ไผ่เสีย, ย่อม่าไม่ไผ่เสียด, ลูกในท้องย่อมมาแต่ผลเสีย ฉันใด, สักกะอิยมามู่รบ่อยเสีย ฉันนั้น. " ๓. อโห ในที่นี้เป็นพวกทานแสดงความเสียลงัด แต่ว่า โอ ไม่ถูก โวหารนั้นแสดงความหามาก โว, คำในสังวาส ควรเลือกกล่าวคำภาษาไทยให้ตรงกัน ในที่นี้ส่อกล่าวว่า แม่ มาใช้ ๆ, แปลไม่ต้องออกชื่อดอกตกลได้ เช่น เธอห้ามเวว่า อย่าไปนั่นเลย. ๔. คำว่า เอ๋า กิรุด สิโล เป็นคำตอบของบทว่า กลุมา แปลต้องเติมคำว่า คุลมา โส ต คำว่าเรสา ไม่เช่นนั้น ใช้คำเพระเหตุว่า นำบ้างด้น ๓. คำว่า มหาอุปาสิกา ในที่นี้ หมายความว่า มัฏฐิตาทิกาอุทกยรอว่า อุบาสิกาเหมือนกัน มารดาจีงต้องเป็นอุบาสิกาผู้ใหญ่ ๓. ทาหน ก็ สุนฺปโมนา ก็ดี หมายความว่า"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More