พระธัมม์ปิฎกฉบับแปล ภาค ๖ - หน้า ๑๖๙ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 171
หน้าที่ 171 / 297

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงบทสนทนาระหว่างพระศาสดากับสาวกเกี่ยวกับความสำคัญของที่พึ่งในพระพุทธศาสนา เช่น พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์ และความสามารถในการขจัดทุกข์ โดยพระศาสดาได้สอนให้สาวกมองหาที่พึ่งในธรรมชาติ และชี้ให้เห็นว่าสิ่งเหล่านี้สามารถนำพาพวกเขาไปสู่การหลุดพ้นจากทุกข์ และเกิดอำนาจในการสอบสวนความคิดของตนเอง เพื่อจะหลุดพ้นจากวัฏฏะได้มากขึ้น

หัวข้อประเด็น

- การสนทนาระหว่างพระศาสดากับสาวก
- ความสำคัญของที่พึ่งในพระพุทธศาสนา
- อานุภาพของพระศาสดา
- ความสามารถในการขจัดทุกข์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธัมม์ปิฎกฉบับแปล ภาค ๖ - หน้า ๑๖๙ พระเณร: พระผู้มีพระภาคนั้น เป็นพระศาสดา, ข้าพเจ้าเป็น สาวกของพระผู้มีพระภาคนี้ [ พฤกษ์ชมเชยพระศาสดา ] พระศาสดาประทับนั่งบนอาสนะแล้ว, หมู่อภิปรายคอง อัญชลีชมเชยพระศาสดาว่า " อานุภาพของสาวกยังถึงเพียงนี้, ส่วน อานุภาพของพระศาสดานี่ จักเป็นเช่นไร ? " พระศาสดาตรัสเรียกอัศจิตรามแล้ว ตรัสว่า " อัคคีทิตย์ ท่านเมื่อให้โอกาสแก่สาวกและอุปัฏฐากทั้งหลายของท่าน ย่อมกล่าว ว่า ' อย่างไร ? ให้. " อัคคีทิตย์ ข้าพระองค์ให้โอกาสแก่สาวกและอุปัฏฐากเหล่านั้น อย่างนี้ว่า ' ท่านทั้งหลาย จงถึงภูมิว่านี้เป็นที่พึ่ง, จงถึงป่า, อาราม, จงถึงต้นไม้ ว่าเป็นที่พึ่ง, ด้วยว่า บุคคลถึงจิตทั้งหลาย มุ่งเขาถึงต้นนี้จึงเป็นที่พึ่งแล้ว ย่อมฟันอากทุกข์ทั้งหลายได้. ' [ สระณะที่ฤกษ์และไม่ฤกษ์ ] พระศาสดาตรัสว่า " อัคคีทิตย์ บุคคลถึงจิตทั้งหลายมีมรรคา เป็นต้นนั่นว่ามีเป็นที่พึ่งแล้ว ย่อมไม่ฟังอากทุกข์ใดเลย, ส่วนบุคคล ถึงพระพทธ พระธรรม พระสงฆ์ ว่าเป็นที่พึ่ง ย่อมฟันจากทุกข์ใน วัฏฏะทั้งสิ้นได้" ดังนี้แล้ว ได้ทรงภายพระศาสดาเหล่านี้ว่า :- " มนุษย์เป็นอัมมกา ถูกภัยทุกข์ความแล้ว ย่อม ถึงภูเขา ป่า อารามและรุกข์เจดีย์ว่าเป็นที่พึ่ง; สรณะนั้นแลไม่ฤๅมา, สระณะนั้นไม่อุดม,
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More