พระธรรมปฐัฐฉบับแปล ภาค ๖ - หน้าที่ 194 พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 196
หน้าที่ 196 / 297

สรุปเนื้อหา

บทแปลพระธรรมปฐัฐนี้กล่าวถึงการอธิบายเกี่ยวกับความสุขและทุกข์ ในคำสอนที่ว่าความสุขในนิพพานนั้นไม่มีสิ่งใดมาเปรียบเทียบได้ โดยเน้นความสำคัญของการเข้าใจสภาวะทุกข์ ที่เกิดจากขันธ์ และยืนยันว่าไม่มีสุขอื่นใดที่เทียบกับบรมสุขของนิพพาน การเทศนาในบทนี้ยังเกี่ยวข้องกับเด็กหญิงในตระกูลที่ได้เห็นอาการระหว่างพระผู้มีพระภาค และมีความเป็นมาในด้านการปฏิบัติธรรมหลังจากบรรลุโสดาปัตติผล.

หัวข้อประเด็น

- พระนิพพาน
- สุขและทุกข์
- ขันธ์
- โทสะ
- การปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธรรมปฐัฐฉบับแปล ภาค ๖ - หน้าที่ 194 ไม่มี แม้สุขชื่นกันนิพพานสุข ไม่มีเหมือนกัน ดังนี้แล้ว ตรัสพระคาถานี้ว่า:- "ไฟสมด้วยราย ย่อมไม่มี โทษสมด้วย โทษะ ย่อมไม่มี ทุกข์ทั้งหลายสมด้วยขันธ์ ย่อมไม่มี สุขอื่นจากความสงบ ย่อมไม่มี." [ แก่อรรถ ] บรรดาบทเหล่านั้น สงบว่าถูกี ร คาถิณ ความว่า ชื่อว่าไว้สมด้วยราย ดังสามารถเพื่อจะไม่แสดงควัน เปลว หรือค้าน ในมัณฑนในเท่านั้น แล้วจึงกระทำองเก้า ย่อมไม่มี บทว่า คลี ความว่า แม้โทษสมด้วยโทสะ ย่อมไม่มี. บทว่า ขุทษมา ได้แก่ เสมอด้วยขันธ์ทั้งหลาย อธิบายว่า ชื่อว่าหนี้อย่างอื่น เหมือนอย่างนี้ทั้งหลายที่บุคคลบริหารอยู่เป็นทุกข์ ย่อมไม่มี. สองบทว่า สุขิปรี สุข ความว่า แม้สุขอื่นยิ่งกว่าสะ นิพพาน ย่อมไม่มี อธิบายว่า ความจริง สุขอย่างอื่น ก็เป็นสุข เหมือนกัน, แต่พระนิพพานเป็นบรมสุข. ในกลอนบทเทศนา กุมาริกาและกุมาร ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล แล้ว. ในขณะนั้น พระผู้มีพระภาค ได้ทรงทำอาการคืออันเห็นซึ่งกันและกัน แก่กันทั้ง ๒ นั้นดังนี้แล. เรื่องเด็กหญิงแห่งตระกูลคนใดคนหนึ่ง จบ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More