พระธัมปิชาทิฆอุ - ประโยคและการวิเคราะห์ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 218
หน้าที่ 218 / 297

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เน้นความสำคัญของธรรมที่เกี่ยวกับสัตว์และสังขาร โดยกล่าวถึงผลกระทบจากการมองเห็นหรือไม่เห็นสิ่งที่รักและไม่รัก ทำให้เกิดทุกข์ในใจ นอกจากนี้ยังนำเสนอมุมมองเกี่ยวกับการทำในใจที่ไม่ได้เบียดเบียนผู้อื่น เพื่อให้เกิดความสงบและงามในจิตใจ. การวิเคราะห์ยังเชื่อมโยงกับความเข้าใจในโยนิโสมนสิการ ซึ่งเป็นหลักสำคัญในการปฏิบัติธรรมนั้น.

หัวข้อประเด็น

-พระธัมปิชาทิฆอุ
-สัตว์และสังขาร
-การไม่เบียดเบียน
-โยนิโสมนสิการ
-การทำในใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธัมปิชาทิฆอุถูกฉบับภาค 6 - หน้าที่ 216 ละเสียแล้วซึ่งประโยชน์ ถึงเอาธรรมอันเป็นที่รัก ย่อมทะเยอทะยาน ด่บบุคคลผูถามประ- กอบคน บุคคลอย่างสมาคมกับสัตว์และสังขาร ทั้งหลาย อันเป็นที่รัก (และ) อันไม่เป็นที่รัก ในภาไหน ๆ (เพราะว่า) การไม่เห็นสัตว์และสังขารอันเป็นที่รัก และการเห็นสัตว์และสังขารอันเป็นที่ร้อน ไม่เป็นที่รัก เป็นทุกข์ เพราะเหตุนี้นบุคคลไม่พึงจะทำสัตว์หรือสังขาร ให้เป็นที่รัก เพราะความพยายามจากสัตว์ และ สังขารอันเป็น ที่รัก เป็นการดำรงงาม การล้างเครื่องรื้อรัด ทั้งหลาย ของเหล่าบุคคลที่ไม่มีอารมณ์อันเป็น ที่รักและไม่เป็นที่รัก ย่อมไม่มี." [ แก้อรรถ ] บรรดาทนหล่านน บวกา อธิบ คาถว่า ในสังอันไม่มีครประกอบ คือการทำในใจโดยไม่เบียดาย อธิบว่า ก็การเสพ อิโจร 6 อย่าง ค่างโดยอิโจรมือใครคือหญิงแพศยาเป็นต้น ชื่อว่า การทำในใจโดยไม่เบียดายในที่นี่ บุคคลประกอบในการทำในใจ โดยไม่เบียดายนั้น บวกว่า โยนคุมิ ความว่า และไม่ประกอบ (ตน) ในโยนิโส- มนสิการ อันผิดแผกจากโยนิโสมนสิการนั้น. สองบวกว่ าอุตติ ทิวา ความว่า หมวด 3 แห่งสักขา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More