บทสนทนาเกี่ยวกับการรักษาอุโบสถและฟังธรรม พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 6 หน้า 94
หน้าที่ 94 / 297

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาสะท้อนถึงการสนทนาระหว่างนายกาลและเศรษฐีเกี่ยวกับการรักษาอุโบสถและ บทบาทของการฟังธรรมในชีวิตของพวกเขา โดยนายกาลมีความตั้งใจที่จะฟังธรรม แต่ก่อนหน้านั้นได้รับอาหารจากบิดาและปฏิเสธการบริโภคอย่างมีสติ. ทั้งสองได้เรียนรู้ถึงผลของการฟังธรรมที่มีความเมตตาและการปฏิบัติตามคำสอน.

หัวข้อประเด็น

-การรักษาอุโบสถ
-การฟังธรรม
-บทบาทของเศรษฐี
-การปฏิญญา
-การมีสติในชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธรรมปฏิรูปกฏแปล ภาค ๖ หน้า ที่ 92 กาละ จักให้หรือ ? พ่อ. เศรษฐี. จักให้ ลูก. นายกาลนั้น รับปฏิญญา ๑ ครั้งแล้ว เป็นผู้รักษาอุโบสถ ไม่ได้ไปสู่พระแล้ว แต่ก็จดการฟังธรรมของเขาไม่มี; เขานอน ในที่ตามความสำราญแล้ว ได้ไปบ้านแต่เช้าตรู่ ลำดับนั้น บิดา ของเขาพูดว่า "บุตรของเราได้เป็นผู้รักษาอุโบสถ, ท่านทั้งหลาย จงนำข้าวมันเป็นต้นมาแทนเขาเร็ว" ดังนี้แล้ว ก็สั่งคนให้ใ่. นายกาลนั้น ห้ามอาหารเสีย ด้วยพูดว่า "เราจะไม่รับไปหาปะจัก ไม่บริโภค." ลำดับนั้น บิดาของเขาเมื่ออดนทนกรุณาไม่ไได้ จึง ให้โอกาหปะนะแล้ว. นายกาลนั้น ต่อรับหาปะนะนั้นไว้ด้วยมือ แล้วจึงบริโภคอาหาร. ต่อมาในวันรุ่งขึ้น เศรษฐีสูงรานไป ด้วยพูดว่า "พ่อ เรา จักให้หาไปประหนึ่งแกเจ้า, เจี้ยงตรงพระพักตร์ของพระศาศดา เรียนเอาบุญแห่งธรรมไม่ได้บามหนึ่งแล้วพึ่งมา." เขาไปหาร ยืนตรง พระพักตร์ของพระศาศดา ได้เป็นผู้จะเรียนเอาบุญแห่งธรรม บทเดียวเท่านั้นแล้วหนีไป. ลำดับนั้น พระศาศดา ได้รับคำอาการ คือการกำหนดไม่ใช่แก่น. เขากำหนดคนนั้นไม่ได้แล้ว จึงได้ยืนฟัง แล้วเทียว ด้วยคิดว่า "เราจักเรียนนบต่อไป." น่าชวนทั้งหลาย ต่อ ฟังอยู่ ด้วยคิดว่า "เราจักเรียนให้ได้" ชื่อว่าฟังโดยเคารพ. ก็ธรรมดา เมื่อองค์ทั้งหลาย ฟังอยู่เช่นนี้ ธรรมย่อมให้ โสดาติฌมรณ์เป็นต้น. ถึงนายกาลนั้น ก็ฟังอยู่ด้วยคิดว่า "จัก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More