ข้อความต้นฉบับในหน้า
อุปม่าต์มาจากพระไตรปิฎก
หรือข้างเท้ายอุดมจุ่ก่อน ก็แต่ว่ายังกะปรากฏช่องในตอนกลาง แม้เมื่อเงืองขน ส่วนหนึ่งในปลายฝ่าเท้าเป็นดังนั้นและ ก็ขึ้นก่อน
ฝ่าพระบาททังสิ้นของพระงามนั้นย่อมจริงพื้นโดยทรงเหยียบพระบาทครั้งหนึ่ง จุดพื้นรองเท้าทองคำ ฉะนั้น ทรงยกพระบาทขึ้นจากพื้นโดยท่านองเดียวกัน เพราะฉะนั้น พระกุฎารนี้จึงเป็นผู้มีพระบาทเรียบเสมอกัน.
ทีม. (อรรถ) มก. 13/126
๒.๒ ลักษณะพระบาทของพระมหาบรุษไม่เหมือนปลายเท้าของคนอื่น อันลำอังตั้งอยู่สิ้นเท่าเป็นเหมือนตัดส้นเท้าตั้งอยู่ ฉะนั้น แต่ของพระมหาบรุษ พระบาทมี ๔ ส่วน ปลายพระบาทมี ๒ ส่วน ลำพระชนตั้งอยู่ในส่วนที่ ๕ เป็นส่วนกับลูกศิษย์นั่งทำด้วยผ้ากำพลาสดา ดูม้วนด้วยปลายเข็มแล้วตั้งไว้.
ทีม. (อรรถ) มก. 13/137
๒.๓ พระมหาบรุษนี้มีพระหัตถ์ และพระบาทยาวเหมือนของงานรื่น เองโคนใหญ่แล้วเรียบไปโดยลำดับถึงปลายนิ้วเส้นเดียวกับแท้งหราดที่ย่ำด้วยน้ำมันยางแล้วขึ้นได้.
ทีม. (อรรถ) มก. 13/137
๒.๔ พระมหาบรุษนี้มีพระหัตถ์ ๕ นิ้ว พระบาท ๖ นิ้วสันสนเป็นอันเดียวกัน ก็เพราะพระองค์คลั่งหลายชิดสนิทเป็นอันเดียวกัน พระองค์ทั้งหลายจิตตื่นกันและกัน มีลักษณะเป็นข้าวเหนียวตั้งอยู่ พระทัตต์ และพระบาทของพระโพธิสัตว์นี้เป็นเช่นกับหน้าต่างข้าง ๆ ข้างผู้ลดดิประกอบแล้ว.
ทีม. (อรรถ) มก. 13/138
๒.๕ พระบาทของพระโพธิสัตว์เหมือนสงขาว คว้า จริงอยู่ ข้อเท้าของคนอื่นอยู่ที่หลังเท้า เพราะฉะนั้น เท้าของคนเหล่านี้จึงติดกันเหมือนติดด้วยสลักกลลาไม่ใสตามสตภา เมื่อเดินไปฝ่าเท้าไม่ราบ แต่ข้อพระบาทของพระมหาบรุษขึ้นไปอยู่เบื้องนบ เพระฉะนั้น พระวรรภายทอดนอนของพระมหาบรุษ ตั้งแต่พระนาฏขึ้นไปจังมิได้ให้วันไหวเลย ดูพระสุวรรณปฏิมาประดิษฐานอยู่ในเรือ พระวรรภายทอดนั่งลงไหว พระบาทกลอกกลับได้สะดวก.
ทีม. (อรรถ) มก. 13/138
๒.๖ พระมหาบรุษมีพระงง (แข็ง) บริบูรณ์ด้วยฝ่ามือมังละ (เนื้อ) เติม...ประกอบด้วยพระองค์เหมืกับท้องข้าวสาลีทองขนเหเนียว.
ทีม. (อรรถ) มก. 13/138