ข้อความต้นฉบับในหน้า
๑๕๖ อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก
๑.๔ พระคุณของพระโคดมผูเจริญนั้น ที่ยังมได้กล่าวมามากกว่าคุณข้าพเจ้ากล่าวแล้วเปรียบเหมือนมหาปรีชิ และมหาสุทธาราห์ที่สุดโมลี หาประมาณมิได้ กว้างขวางประตูอากาศฉะนั้นแล.
ม.มุ (อรรถ) มก. ๒๑/๒๘๐
๑.๕ บุคคลหนึ่งพึงเอาบ่วงผืดตาเอาน้ำจากแม่น้ำใหญ่ชื่อจันทราภาค ซึ่งกำลังไหลท่วมสถานที่อึ่เมือง ๑๔ โยชน์ คือ ข้างนี้ ๙ โยชน์ ข้างโน้นอีก ๙ โยชน์ น้ำที่บูรพุ่งนี้ตีกันไม่น้อยกว่าน้ำที่บุรษเอาหึ่งต้มตักไป ก็รอบบุรษจึงเอาน้ำจากแผ่นดินใหญ่ ฝุ่นที่เหลือนั้นแล้วมันมากกว่าฝุ่นที่บุรษนั้นเอามือจับได้มา ก็รอบบุรษจึงไปยังมหาสมุทร น้ำที่เหลือนั้นแล่มากกว่าจำตรงนั้นบุรษนั้นไป และบุรษนั้นจึงไปยังอากาศ ส่วนอากาศที่เหลือมีมากกว่ากอากาศตรงที่บุรษชี้นี้ไป
พระพุทธคุณหลายพี่พระเณรไม่เห็นนั้นแล พึงทราบว่า มีกว่า พระพุทธคุณที่พระเณรได้เห็นแล้ว ฉันนั้น.
ทีปา (อรรถ) มก. ๑๔/๒๔๔
๑.๖ เหล่านาคสุบรรณ และเหล่าผินนพรพร้อมทั้งเทพ คณะธัมมานุษยะ และรากษส พากันชมพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ทรงเอตกูล และอนุเคราะห์โลกละองค์นี้ เหมือนชมดาวจันทร์ซิ่งโคจรในท้องนภากาศ ฉะนั้น.
ขุ. พุทธร. (อรรถ) มก. 73/๑๒๒
๒. ความเคารพในพระธรรม
๒.1 เสาเขียนหรือเสาหลิีมีราคาอันลิี ปักไว้แล้ว ไม่หวั่นไหว ไม่สนสะเทือน ฉันใด ธรรมทั้งหลายอันพระภาคเจ้าผู้ทรงรู้ทรงเห็น ผูเป็นพระรหัสสมาสมาทุกแห่งแล้วทรงบัญญัติแล้วแก่สาวกทั้งหลาย เป็นธรรมอันสาวกไม่คว้าว่างอดอยากไม่ว่างอดอยาก.ฉันนั้นเหมือนกันแล.
ทีปา (อรรถ) มก. ๑๔/๒๔๙
๒.2 ธรรมอาไม่ยอมเออนอย่างไปตามลมโดยไม่ลิขิต ฉันใด ภิกษุผูปรารถนาความเพียร กระทำตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ทำแต่สิ่งดีงาม ไม่ฝ่า ฝืนพระธรรมวินัย สมคำของพระราชา วควรจะทำตามซึ่งคำของพระพุทธเจ้า อันประกอบด้วยองค์ ๙ ทุกเมื่อ ควรทำแต่สิ่งที่สมควร สิ่งที่ไม่ใช่ก็ไม่ควรพยายามให้ยิ่งขึ้นไป.
มิลิน. ๑๔๗