การตั้งจิตและดวงธรรม อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 348
หน้าที่ 348 / 370

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เน้นถึงการตั้งจิตและวิธีการเรียนรู้เกี่ยวกับดวงธรรมจากพระไตรปิฎก ผ่านการอธิบายฐานที่ตั้งจิตทั้ง 7 ฐาน ตั้งแต่ปาทะช่องจมูกไปจนถึงศูนย์กลางกาย และการระลึกถึงนิิมิตที่สามารถทำได้ในสถานที่ต่าง ๆ ทุกอิริยาบถ การสร้างความสงบเบาบางในจิตใจเป็นสิ่งสำคัญ รวมถึงการเชื่อมโยงจิตเข้ากับดวงธรรม เพื่อเป็นประตูสู่หนทางแห่งมรรคผลนิพพาน สามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การตั้งจิต
-ดวงธรรม
-ฐานที่ตั้งจิต
-การระลึกถึงนิิมิต
-มรรคผลนิพพาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

Here is the extracted text from the image: --- ๑๓๙ อรูปามัยจากพระไตรปิฎก ภาพแสดงที่ตั้งจิตทั้ง ๗ ฐาน ฐานที่ ๑ ปาทะช่องจมูก “ผู้ซึ่งชำระ” ฐานที่ ๒ เพลาตา “ผู้ซึ่งชำระ” ฐานที่ ๓ จองปลายลิ้น ฐานที่ ๔ ชื่อแพธนา ฐานที่ ๕ ปาทะช่องลำคอ ฐานที่ ๖ ศูนย์กลางกายที่ตั้งจิตดวง ฐานที่ ๗ ศูนย์กลางกายระหว่างส้นเท้า 2 นิ้วมือ องค์เมนิเมื่อมินดวงแก้วกลมใสบริสุทธิ์แล้ว ณ กลางกาย ให้รวบอารมณ์สบายๆ กันมิตินั้น จนเหมือนกับว่าดวงมิติมีเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์หากดวงมิตินั้นเกิดอันตรธานหายไป ก็ไม่ต้องนักเสียใจ ให้วางอารมณ์สบาย แล้วนิมิตนั้นขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือเมื่อมิดนั้นไปปรากฏที่อื่น ที่มีโชคศูนย์กลางกาย ให้ค่อยๆ น้อมนิมิตเข้ามา อย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่มีการบังคับ และเมื่ออมนิมิตหมดสนิท ณ ศูนย์กลางกาย ให้วางสติลงไปยังจุดศูนย์กลางของดวงนิมิต ด้วยความรู้สึกคล้ายมีดวงดาวดวงเล็กๆ ดักดวงหนึ่งซ้อนอยู่ตรงกลางดวงนิมิตดวงเดิม แล้วสนใจเอาใจใส่แต่ดวงเล็กๆ ตรงกลางนั้นไปเรื่อยๆ ใจจะปรับจูนหยุดได้ถูกส่วน เกิดการศูนย์และเกิดดวงสว่างขึ้นมาแทนที่ ดวงนี้เรียกว่า “ดวงธรรม” หรือ “ดวงปฐมมรรค” อันเป็นประตูเบื้องต้นที่จะเปิดไปสู่หนทางแห่งมรรคผลนิพพาน การระลึกถึงนิิมิด สามารถทำได้ในทุกแห่ง ทุกที่ ทุกอิริยาบถ ไม่ว่าจะนั่ง นอน ยืน เดิน หรือขณะทำกิจใดๆ www.kalyanamitra.org
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More