อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 69
หน้าที่ 69 / 370

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในพระไตรปิฎกมีการนำเสนออุปมาอุปไมยเพื่ออธิบายธรรมชาติของความเพียรและการตั้งใจในการดำเนินชีวิต โดยยกตัวอย่างตามธรรมชาติและวิถีชีวิต เช่น ความเป็นอยู่ของสัตว์ต่าง ๆ และการใช้ชีวิตอย่างมีสติ หรือการบริโภคอาหาร โดยที่เน้นความสำคัญของการตั้งใจและการประพฤติปฏิบัติอย่างมีสติในเส้นทางหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด เพื่อการเข้าถึงนิพพานตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่สื่อถึงการไม่ประมาทและการทำความเพียรให้บริบูรณ์ โดยได้รับการนำเสนอในรูปแบบที่เข้าใจง่ายและน่าสนใจ โดย_reference_ในมิลินนานวะ.

หัวข้อประเด็น

-อุปมาอุปไมย
-ความเพียร
-พระไตรปิฎก
-การตั้งใจ
-ธรรมะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๕ อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก ๑.๕ ธรรมดาอยู่เมื่อติดความหอมแห่งดอกไม้ป่าที่บ้านแล้วให้หยุดไป ฉันใด ฤทธิ์ผูปรารถนาความเพียรควรยึดอยู่ในขัดดอกไม้ คือ วิฑูติเป็นอารมณ์ ฉันนั้น. มิลิน. ๔๘8 ๑.๖ ธรรมดาเนื้อในป่าย่อมเที่ยวไปในนา อยู่ที่แจ้งในเวลาค่ำฉันใด ฤทธิ์ผูปรารถนาความเพียรควรอยู่ป่าในเวลาค่ำวันและอยู่ในที่แจ้งในเวลาค่ำงันฉันนั้น ข้อนี้สัมพันธ์พระพุทธเจ้าว่า คู่อาสาริญต์ เราอยู่ในที่แจ้งในเวลาค่ำในหน้าหนาว ส่วนคืนสุดท้ายแห่งฤดูร้อน ในเวลาค่ำในเวลาค่ำในเวลาค่ำในป่า. มิลิน. ๔๙๓ ๑.๗ ธรรมดาค้างคาวเมื่อบินเข้าในเรือนแล้ว บินวนไปมาแล้วก็จะบินออกไปไม่ง่วงในเรือน ฉันใด ฤทธิ์ผูปรารถนาความเพียรเมื่อเข้าไปในบ้านตามลำดับแล้ว จะได้หรือไม่ได้อาหารก็มิ์ ควรลับออกไปโดยเร็ว ฉันนั้น ไม่ควรขังอยู่ในบ้าน. มิลิน. ๔๙๓ ๑.๘ ธรรมดาของลนั่นไม่เลือกที่จะนอน นอนนอกกองขยะก็มี ที่ทาง ๔ แรง ๓ แรง ที่ประตูบ้าน กองแกละมี ฉันใด ฤทธิ์ผูปรารถนาความเพียรก็ไม่เลือกที่จะนอน ฉันนั้น ไม่ว่าจะเป็นการแผ่นหนัง ปุ๋ยำ หรือไม้ หรือ นอนดิ่งไม้ หรือนอนพืนดินก็อนได้ ข้อนี้สัมพันธ์พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า ฤทธิ์ทั้งหลายในบัดนี้ เปรียบเหมือนท่อนใม้ ย่อมเป็นผูไม่ประมาท และมีความเพียร ส่วนพระอาสาริญต์เจ้าว่าไว้ว่า การนั่งคู้บัลลังก์ หรือบัลลังก์หา ก็พออยู่สบายสำหรับ พระฤทธิ์ผู้งัดต่อพระนิพพานแล้ว. มิลิน. ๔๙๒ ๒. อาหารเป็นที่สบาย ๒.๑ ธรรมดาไก่ย่อมคุยเขย่าม้าที่กินได้ ฉันใด ฤทธิ์ผูปรารถนาความเพียรก็ควรพิจารณาก่อน แล้วจึงรีบฉวยอาหาร ไม่รีบคอยให้เกิดความคลาดเคลื่อน ความมาม่า ความสวยงามแห่งร่างกายแต่รีบรีบเพื่อให้ร่างกายนี้ดำรงอยู่ในพรหมจรรย์ คือ การครองชีวิตอันประเสริฐ และบรรเทาเวทนาเก่า กำจัดเทวตามใหม่เท่านั้น ดังพระพุทธพจน์ที่ว่า บุคคลกินเนื้อแห่งบุตรในทางกันดารได้ด้วยความลำบากใจ กินเพื่อประจำชีวิต ฉันใด หรือบุคคลตั้งน้ำมันรถพอให้รถแล่นไปได้ ฉันใด ฤทธิ์ผูปรารถนาความเพียร บริโภคอาหารพอควรต่อการยังชีพ ฉันนั้น. มิลิน. ๔๓
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More