ข้อความต้นฉบับในหน้า
๒๗๙
อุบมาตุไม่จากพระไตรปิฎก
๒.๗ บุคคลเมื่อกระทำความเพียร แม้จะตายก็ถือว่า ไม่เป็นหนีใหม่มาดี เทวดา และบิดามารดา องค์บุคคลเมื่อทำอย่างลูกผู้ชาย ย่อมไม่เดือดร้อนในภายหลัง
ข.ซอ. (โพร มค. ๓๒/๗๕
๒.๘ พญาราชสีห์มารเป็นผู้ความเพียรไม่ย่อหย่อมนในการนั่ง การเดิน ประคองใจไว้ในกาลทุกเมื่อ แม้ฉันใด ท่านก็ฉันนั้นเหมือนกัน จงประกอบความเพียรไว้ให้นานตลอดทุกภพ ถึงความเป็นวิริยาบมีแล้ว จักบรรลุพระสัมโพธิญาณได้
ข.อป. (โพร มค. ๓๐/๕๓
๒.๙ ขันธ์ชื่อ ว่าพยศ ย่อมแสดงเป็นนักษะ แมฉันใด พุทธจตุรผู้ประกอบความเพียรบำเพ็ญภายในสิ้นเหมือนกัน เข้าไปสู่ป่่าแล้ว ย่อมมีได้สิ่งผลอันอุดม
วิม.มภ. (อรรถ) มค. ๒/๖๓
๒.๑๑ ธรรมดานายพรานย่อมมีใจจดจ่อจับฝูงเนื้อ ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรจึงควรประกอบ และรักษาอารมณ์ให้มาสำคัญดีแล้วให้เกิดคุณค่าแต่ไป ฉันนั้น
มิลิน. ๔๕๙
๒.๑๒ ธรรมดานายข่มธนู เมื่อจะยิงธนูมอมหยิบขึ้นด้วยเท้าทั้งสองให้นั้น ทำเข้าไม่ให้ไหว ยกขึ้นเพียงหง ดั้งกายตรง ง้างมือทั้งสองลงที่ศรนั่น จับคำรรจให้แน่น ทำวันให้ชิดกัน เอี๊ยว คอ หลิวตา มั่นปา เล็งเป้าให้ตรง แล้วเกิดความดีว่า เราจักยิงในบัดนี้ ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรควรเหยียบพื้นดิน คือ ศีลด้วยเท้า คือ วิริยะให้นงคง ทำขันติ โลังจะไม่ให้หวลสำรวมใจ และกาย บิกิลสตดและให้แน่น กระทำดังนี้ให้มีช่องว่างด้วยอโลมสิการ ประคองความเพียรปิดประตู้ง ๓ เสี้ยม ตั้งสติให้หาเกิดความเร่งว่า เราจักยิงโล่งทั้งปวง ด้วยลูกคร คือ ญาณ ณ บัดนี้ ฉันนั้น
มิลิน. ๑๔๔
๒.๑๓ ไก่ย่อยกลับเข้ารังก็หัววัน ฉันใด ภิกษุผู้ปรารภความเพียรพึงทำจิตวิระ เช่น ทำความสะอาดตัว เตรียมบำรุงบบ น้ำใช้ ชำระร่างกาย และสวนมะนุ่งให้เสร็จแต่เนิ่นน เพื่อจะได้โอการส่งปฏิบัติธรรมเร็วขึ้น ฉันนั้น
มิลิน. ๑๔๓